Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
ไฟฟ้าสถิต (1) por Mind Map: ไฟฟ้าสถิต  (1)

1. ตัวเก็บประจุ

1.1. ทำหน้าที่เก็บประจุไฟฟ้า

1.2. W A➡️B =q ( VB - VA )

1.2.1. ( VB - VA ) คือความต่างศักย์

1.3. C = Q/V หน่วย c/v =F (Farad)

1.4. การต่อตัว C

1.4.1. 3.)เป็นบวก (สูญเสียประจุลบ)

1.4.2. 1.) อนุกรม (ประจุไฟฟ้าไม่เเยกไหล)

1.4.2.1. Qรวม = Q1 = Q2

1.4.2.2. Vรวม = V1+V2

1.4.2.3. 1/Cรวม =1/C1 + 1/C2

1.4.3. 2.) เเบบขนาน (ประจุไฟฟ้าเเยกไหล)

1.4.3.1. Vรวม = V1 = V2

1.4.3.2. Qรวม =Q1 + Q2

1.4.3.3. Cรวม = C1 + C2

2. ทำหน้าที่จ่ายประจุไฟฟ้า

3. สภาพไฟฟ้า

3.1. 1.) เป็นกลาง ทางไฟฟ้า

3.2. 2.)เป็นลบ (สูญเสียประจุบวก)

4. ประจุไฟฟ้า

4.1. มี 2 ชนิด

4.1.1. ประจุบวก (+) มีประจุ + 1.6×10 กำลัง -19 C ประจุลบ (-) มีประจุ - 1.6×10 กำลัง -19 C

5. เเรงไฟฟ้า / เเรงคูลอมบ์

5.1. 1.) เเรงดูด =》 ประจุต่างชนิดกัน

6. 2.)เเรงผลัก =》 ประจุเหมือนกัน

7. กฎของคูลอมบ์ F=KQ1Q2/Rกำลัง2

7.1. K =ค่าตัวของคูลอมบ์ 9×10กำลัง9 หน่วย N.mกำลัง2 / Cกำลัง2

7.2. Q1 =ประจุตัวที่ 1 หน่วย C

7.3. Q2 =ประจุตัวที่ 2 หน่วย C

7.4. R= ระหว่างประจุ หน่วย m

7.5. "สนใจประจุตัวไหน ตัวนั้นโดน"

7.6. หาเวกเตอร์ของเเรงคูลอมบ์ "สนใจ QA QA โดน"

8. พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ

8.1. C=Q/V * Q=CV * V=Q/C

8.1.1. C =ความจุไฟฟ้า หน่วย F

8.1.2. Q = ประจุไฟฟ้า หน่วย C

8.1.3. V= ความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วย V

8.2. พื้นที่ใต้กราฟ = 1/2 × ฐาน × สูง = 1/2 × V × Q

8.2.1. U= 1/2QV

8.2.1.1. 1/2 ( 2 เเบบเฉลี่ย )

8.2.1.1.1. U =พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ หน่วย J

8.2.2. U = 1/2 CVกำลัง2

8.2.3. U = 1/2 Qกำลัง2 /C

9. ศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

9.1. V = KQ/R

9.1.1. ศักย์เท่ากัน ➡️ ผิวคงที่ข้างในวงกลม

9.2. Vผิว =KQ/r

10. ศักย์ไฟฟ้า

10.1. V = KQ/R

10.1.1. เป็นปริมาณ (Scalar)

10.1.2. ***คิดเครื่องหมายของประจุไฟฟ้า

11. สนามไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

11.1. กำหนดให้ทรงกลมตัวนำมีประจุ +Q (ประจุ +Q กระจายอยู่บนผิวนอก เท่านั้น!)

11.2. Ein =0

11.3. Eผิว = Emax = ks/r กำลัง2

11.4. E = kQ/ R กำลัง2

11.4.1. R=วัดจากจุดศูนย์กลางทรงกลม

12. สนามไฟฟ้า (E)

12.1. คือ บริเวณที่ประจุส่งเเรงกระทำถึง

12.1.1. F = 0 ; ไม่มีสนามไฟฟ้า

12.1.2. F ไม่เท่ากับ 0 ; มีสนามไฟฟ้า

12.2. ถ้าเป็นเครื่องหมาย + ทิศทางจะพุ่งออก ถ้าเกิดเป็นเครื่องหมาย - ทิศทางจะพุ่งเข้า

12.3. สูตร E=F/q หน่วย N/C

12.3.1. ใช้เมื่อ มีประจุที่ทดลองสนาม

12.4. E= KQ/Rกำลัง2

12.4.1. ใช้เมื่อรู้ประจุที่ปล่อยสนาม

12.4.2. "สนใจประจุตัวไหน ให้ปิดประจุตัวนั้น"

13. สนามไฟฟ้าจากเเผ่นตัวนำคู่ขนาน

13.1. สูตร E = 🔼V/d

13.1.1. E = มีหน่วย N/C

13.1.2. E= มีหน่วย V/m

13.2. ใกล้ + ความต่างศักย์สูง ใกล้ - ความต่างศักย์ต่ำ

13.3. สนามไฟฟ้ามีขนาดคงที่

13.3.1. Ea = Eb = Ec = Ed

13.3.2. เส้นสมศักย์ = เส้นที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน