Unlock the full potential of your projects.
Try MeisterTask for free.
¿No tienes una cuenta?
Regístrate Gratis
Navegar
Mapas Destacados
Categorías
Gestión de proyectos
Objetivos de negocio
Recursos humanos
Lluvia de ideas y análisis
Marketing y contenido
Educación y notas
Entretenimento
Vida
Tecnología
Diseño
Resúmenes
Otros
Idiomas
English
Deutsch
Français
Español
Português
Nederlands
Dansk
Русский
日本語
Italiano
简体中文
한국어
Otros
Ver mapa completo
Copiar y editar mapa
Copiar
แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
Otros
เกศราภรณ์ โลยสูงเนิน
Seguir
Comienza Ya.
Es Gratis
Regístrate con Google
ó
regístrate
con tu dirección de correo electrónico
Mapas Mentales Similares
Esbozo del Mapa Mental
แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
por
เกศราภรณ์ โลยสูงเนิน
1. แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
1.1. เป็นการประเมินการนอนหลับ และการพักผ่อนของผู้รับบริการ ปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคที่ส่งผลต่อการนอน ตลอดจนความรู้สึกและผลกระทบที่เกิดขึ้นเมื่อไม่สามารถนอนหลับและพักผ่อนได้ตามความต้องการ
1.2. ตัวอย่างคำถาม = นอนวันละกี่ชั่วโมงคะ นอนตั้งแต่กี่โมงถึงกี่โมงคะ นอนหลับสบายไหมคะ ตื่นกลางดึกบ้างไหมคะ นอนกลางวันบ้างไหมคะ ตื่นมาแล้วมีอาการง่วงซึมบ้างไหมคะ
2. แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกาย
2.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินระดับความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวันและการออกกำลังกายของผู้รับบริการ
2.2. ตัวอย่างคำถาม = ปกติออกกำลังกายไหมคะ ออกกำลังกายบ่อยแค่ไหนคะ ออกกำลังกาย 1 ครั้งใช้เวลานานแค่ไหนคะ เวลาออกกำลังการมี ความผิดปกติอะไรไหมคะ ในกรณีที่คนไข้ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ; มีใครช่วยออกกำลังกายไหมคะ
3. แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
3.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินกระบวนการขับถ่าย ปัจจัยเสี่ยงและอุปสรรคต่อการขับถ่าย
3.2. ตัวอย่างคำถาม = ขับถายอุจาระทุกวันไหมคะ ปัสสาวะกี่ครั้งต่อวันคะ ปริมาณปัสสาวะประมาณเท่าไหร่ มีสีหรือกลิ่นผิดปกติไหมคะ ควบคุมการขับถ่ายได้ไหมคะ
4. แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
4.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินพฤติกรรม และการปรับตัวในเรื่องการรับประทานอาหารและน้ำของผู้ป่วยทั้งในภาวะปกติและขณะเจ็บป่วย ตลอดจนมุมมองของผู้ป่วยที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงด้านการบริโภคและการเผาผลาญสารอาหารของตนเอง
4.2. ตัวอย่างคำถาม = มีประวัติการแพ้อาหารไหมคะ รับประทานอหารวันละกี่มื้อคะ รับประทานอาหารตรงเวลาไหมคะ ชอบทานรับประอาหารรสชาติแบบไหนคะ รับประทานอาหารครบ5หมู่ไหมคะ ดื่มน้ำวันละกี่แก้วคะ
5. แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
5.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความคิด ความเข้าใจของผู้รับบริการที่มีต่อภาวะสุขภาพหรือการเจ็บป่วยของตนเอง ผลกระทบจากการเจ็บป่วยต่อการดำเนินชีวิต ตลอดจนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพทั้งในภาวะปกติและขณะเจ็บป่วย
5.2. ตัวอย่างคำถาม = เป็นอะไรมาคะ อาการเป็นอย่างไรบ้างคะ ทานยาอะไรมาก่อนคะ ดูแลสุขภาพตอนเองอย่างไรบ้างคะ
5.3. สิ่งที่สังเกต = ความสะอาดของเสื้อผ้า ดูว่ามีกลิ่นตัวหรือไม่
6. แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
6.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความสามารถในการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้า ความสามารถในการจำ การแก้ปัญหา ตลอดจนการตัดสินใจเมื่อต้องเผชิญกับปัญหาทั้งในยามปกติและยามเจ็บป่วย
6.2. ตัวอย่างคำถาม = ชื่ออะไรคะ วันนี้มากับใครคะ เมื่อเช้ารับประทานข้าวกับอะไรมาคะ ตอนนี้กี่โมงแล้วคะ
7. แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
7.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความคิด ความรู้สึก ความเข้าใจของผู้รับบริการที่มีต่อตนเอง ตลอดจนความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อไม่สามารถทำในสิ่งที่ตนเองต้องการได้เนื่องด้วยข้อจำกัดต่างๆ
7.2. ตัวอย่างคำถาม = ตอนที่ไม่เจ็บป่วยเป็นอย่างไรบ้างคะ เจ็บป่วยแล้วเป็นอย่างไรบ้างคะ ความรู้สึกแตกต่างกันมากไหมคะ มีสถาานภาพเปลี่ยนแปลงไปไหมคะ
8. แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
8.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินบทบาทและสัมพันธภาพของผู้ป่วยต่อบุคคลอื่น ทั้งภายในและภายนอกครอบครัวที่อาจส่งผลต่อการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย
8.2. ตัวอย่างคำถาม = เมื่อเจ็บป่วยแล้วสัมพันธภาพในครอบครัวเป็นอย่างไรบ้างคะ
8.3. สิ่งที่สังเกต = ดูว่าใครเป็นคนมาดูแล
9. แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
9.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินการประเมินการเปลี่ยนแปลงทางกายที่แสดงลักษณะทางเพศ พฤติกรรมทางเพศที่เบี่ยงเบนไปจากปกติ อิทธิพลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศ ผลกระทบของความเจ็บป่วยที่มีต่อการมีเพศสัมพันธ์ตลอดจนความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับตนเองและคู่ของตนเอง
9.2. ตัวอย่างคำถาม = มีประจำเดือนหรือยังคะ ประจำเดือนมาปกติไหมคะ มีแฟนหรือยังคะ มีเพศสัมพันธ์หรือยังคะ เวลามีเพศสัมพันธ์มีการป้องกันอย่างไรคะ ถ้ามีอารมณ์ทางเพศจะจัดการกับตนเองอย่างไรคะ
10. แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด
10.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมิน ความรู้สึกหรือทุกข์ที่เกิดขึ้นเมื่อเผชิญกับความเครียดและการจัดการกับความเครียดทั้งในภาวะปกติและการเจ็บป่วย
10.2. ตัวอย่างคำถาม = 2-3วันที่ผ่านมามีเรื่องไม่สบายใจอะไรไหมคะ เวลามีความเครียดจะจัดการกับความเครียดอย่างไรคะ
10.3. สิ่งที่สังเกต = ดูว่าคนไข้มีสีหน้าที่กังวลหรือไม่
11. แบบแผนที่ 11 ความเชื่อ
11.1. เป็นการรวบรวมข้อมูลประเมินภาวะความมั่นคงเข้มแข็งทางจิตใจ ซึ่งสะท้อนออกมาทางความคิดและพฤติกรรมที่แสดงออกต่อสิ่งที่ตนเองคิดว่าความหมายต่อการดำเนินชีวิตของตนเอง และการดูแลสุขภาพ เช่น การกราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
11.2. ตัวอย่างคำถาม = เชื่อมั่นในการรักษาของแพทย์มากน้อยแค่ไหนคะ มีความเชื่อด้านสุขภาพอย่างไรคะ นับถือศาสนาอะไรคะ
Comienza Ya. ¡Es Gratis!
Conéctate con Google
ó
Regístrate