Unlock the full potential of your projects.
Try MeisterTask for free.
¿No tienes una cuenta?
Regístrate Gratis
Navegar
Mapas Destacados
Categorías
Gestión de proyectos
Objetivos de negocio
Recursos humanos
Lluvia de ideas y análisis
Marketing y contenido
Educación y notas
Entretenimento
Vida
Tecnología
Diseño
Resúmenes
Otros
Idiomas
English
Deutsch
Français
Español
Português
Nederlands
Dansk
Русский
日本語
Italiano
简体中文
한국어
Otros
Ver mapa completo
Copiar y editar mapa
Copiar
การพัฒนาหลักสูตร
Otros
MAETHAPHON CHANGART
Seguir
Comienza Ya.
Es Gratis
Regístrate con Google
ó
regístrate
con tu dirección de correo electrónico
Mapas Mentales Similares
Esbozo del Mapa Mental
การพัฒนาหลักสูตร
por
MAETHAPHON CHANGART
1. 8.เป็นหลักสูตรที่ใช้วัสดุอุปกรณ์ของโรงเรียนและชุมชน อย่างกว้างข้างทั่วถึง
2. 7.เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นเพื่อที่จะนําไปปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
3. 6.เป็นหลักสูตรที่มีการอธิบาย ชี้แจง ชัดเจน
4. 5.เป็นหลักสูตรที่มีแผนงานสอดคล้องสัมพันธ์กับการเรียนการสอนและการวัดผล
5. 4.เป็นหลักสูตรที่ครูและนักเรียนมีความเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับแผนการเรียนต่างๆในหลักสูตรและนักเรียนมีส่วนร่วมในการทําแผนการเรียนนั้นๆ
6. 3.เป็นหลักสูตรที่มีกระบวนการเรียนที่ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสก้าวหน้าและมีอิสระที่จะพัฒนาตามความสามารถ ความสนใจและตามแนวทางของตนเอง
7. 2.เป็นหลักสูตรที่มีจุดมุ่งหมายชัดเจน
8. 1.เป็นหลักสูตรที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมข้อมูลที่ได้มาจากนักเรียน สังคม กระบวนการเรียนและความรู้ที่จะได้รับในระหว่างการศึกษา
9. 3.หลักสูตรระดับโรงเรียน เป็นหลักสูตรที่นำหลักสูตรแม่บทและหลักสูตรท้องถิ่นมาพิจารณาเลือกสรรและปรับให้สอดคล้อง เหมาะกับสภาพของโรงเรียน
10. 2.หลักสูตรระดับท้องถิ่น เป็นหลักสูตรที่ปรับปรุงมาจากหลักสูตรแม่บทให้มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพ ความจําเป็นและความต้องการของท้องถิ่นนั้นๆ
11. 1.หลักสูตรระดับชาติหรือหลักสูตรแม่บท เป็นหลักสูตรที่ใช้ในสถานศึกษาต่างๆทั่วประเทศ
12. 5.หลักสูตรระดับประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากการเรียนการสอนในระดับปฏิบัติการ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระดับ
13. 4.หลักสูตรระดับปฏิบัติการ เป็นหลักสูตรในระดับที่ใช้ในห้องเรียน
14. 3.หลักสูตรระดับการเรียนรู้ เป็นหลักสูตรตามความเข้าใจของครูผู้ใช้หลักสูตร
15. 2.หลักสูตรระดับปกติ เป็นหลักสูตรซึ่งถูฏถ่ายทอดแนวความคิดของนักการศึกษาและผู้เชี่ยวชาญต่างๆมาเขียนเป็นเอกสารหลักสูตร
16. 1.หลักสูตรระดับอุดมการณ์ หลักสูตรที่เป็นแนวความคิดและข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอต่างๆของนักการศึกษา ซึ่งต้องการจะให้ผู้เรียนมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งStructure research results
17. 7.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์ เป็นหลักสูตรที่มีความสัมพันธ์กันในหมวดวิชา
18. 4.หลักสูตรแบบแกนกลาง หลักสูตรนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและเจตคติ เพื่อนําไปพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น
19. 3.หลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางสังคมและการดํารงชีวิต เป็นหลักสูตรที่ยึดสังคมเป็นหลัก โดยคํานึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียนเป็นพื้นฐาน
20. 1.หลักสูตรแบบเน้นเนื้อหาวิชา เป็นหลักสูตรที่เก่าที่สุดซึ่งใช้สอนศาสนา ละติน กรีก
21. 5.หลักสูตรที่ยึดกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่สร้างขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรที่เน้นเนื้อหาวิชา ที่ไม่คํานึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
22. 9.หลักสูตรแบบส่วนบุคคล เป็นหลักสูตรที่ครูและนักเรียนวางแผนร่วมกันตามความเหมาะสมและความสนใจของผู้เรียน เพื่อส่งเสริมและดึงศักยภาพผู้เรียนออกมาให้ได้มากที่สุด
23. 6.หลักสูตรแบบบูรณาการ เป็นหลักสูตรที่รวมประสบการณ์ในการเรียนจากหลายๆสาขาวิชา มาจัดเป็นกลุ่มหรือหมวดหมู่
24. 2.หลักสูตรแบบหมวดวิชา เป็นหลักสูตรที่กําหนดเนื้อหาวิชาไว้กว้างๆโดยนําความรู้มาผสมผสานเข้าเป็นหมวดวิชาเดียวกัน
25. 5.ระดับของหลักสูตร
26. 6.รูปแบบของหลักสูตร
27. 7.ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
28. 8.หลักสูตรแบบเอกัตบุลคล เป็นหลักสูตรที่จัดทำขึ้นเพื่อสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียนแต่ละคน
29. 4.วิธีการประเมิน ประเมินเพื่อตรวจสอบจุดมุ่งหมายที่กําหนดไว้และจะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายนั้นๆแล้ว
30. 3.วิธีการจัดประสบการณ์ โรงเรียนจะจัดประสบการณ์ให้มีประสิทธิภาพอย่างไร
31. 2.ประสบการณ์ทางการศึกษา โณงเรียนจะจัดประสบการณ์อะไรบ้างที่จะทําให้ผู้เรียนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่กําหนดไว้
32. 1.จุดมุ่งหมายทางการศึกษา โรงเรียนจะทําอย่างไรให้ผู้เรียนบรรลุผล
33. 2.ความสําคัญของหลักสูตรต่อการเรียนการสอน หลักสูตรจะต้องช่วยกําหนดแนวทางในการเรียนการสอนเพื่อให้แต่ละฝ่ายปฏิบัติหน้าที่ได้สอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกัน จนบรรลุจุดหมายตามที่หลักสูตรกําหนดไว้ ดังนั้นหลักสูตรมีความสําคัญอย่างยิ่งในการเป็นกรอบแนวทางจัดการศึกษาของผู้สอนเพื่อพัฒนาคนให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถและความประพฤติที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมโดยรวม
34. 1.ความสําคัญของหลักสูตรต่อส่วนรวม หลักสูตรต้องเป็นตัวชี้วัดว่ามีการสอนอะไร เน้นอะไร การเน้นด้านใดย่อมแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของประชากรในด้านนั้นๆ
35. 3.ความสําคัญของหลักสูตร
36. 1.ความรู้พื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร
37. 2.ความหมายของหลักสูตร
38. 4.องค์ประกอบของหลักสูตร
39. ซึ่งองค์ประกอบของหลักสูตรตามแนวคิดของทาบา(Taba, 1962: 422-423) มี 4 ประการคือ 1.จุดประสงค์ มีความสําคัญมาก เนื่องจากเป็นแนวทางของการเรียนการสอน ทําให้ผู้สอนรู้ว่ามีจุดประสงค์อะไรบ้างในการสอน สอนเนื้อหาอะไร สอนใคร สอนทําไมและมีวิธีการสอนและประเมินผลอย่างไร 2.เนื้อหา สาระของความรู้และประสบการณ์ในการแสวงหาความรู้ตามสาขาวิชานั้นๆ 3.วิธีสอนและการดําเนินการ เป็นการแปลงจุดประสงค์และเนื้อหาของหลักสูตรไปสู่การสอนตามที่หลักสูตรกําหนดไว้ เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษระตามจุดประสงค์ของหลักสูตร 4.การประเมินผลหลักสูตร เป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน โดยประเมินว่าผู้เรียนมีทักษะ เจตคติและคุณลักษณะตามจุดประสงค์ของหลักสูตรหรือไม่ โดยใช้จุดประสงค์เป็นแนวทางหรือเป็นเกณฑ์ในการประเมิน
40. หลักสูตรเป็นมวลประสบการณ์ที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียนเพื่อนพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามจุดมุ่งหมายที่กําหนดไว้โดยมีองค์ประกอบที่สําคัญสี่ส่วน คือ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา วิธีการจัดประสบการณ์และการประเมินผล
41. มวลประสบการณ์ทั้งหลายซึ่งเป็นแนวทางสําหรับจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนเพื่อพัฒนาให้เขามีคุณลักษณะตามที่สังคมคาดหมายไว้
42. หลักสูตรจะต้องมีองค์ประกอบครบถ้วนเพื่อที่ผู้สอนจะได้นําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งมี 4 องค์ประกอบดังนี้
Comienza Ya. ¡Es Gratis!
Conéctate con Google
ó
Regístrate