Physics m.5

Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
Physics m.5 por Mind Map: Physics m.5

1. คลื่นกล

1.1. สะท้อน

1.1.1. ปลายปิด

1.1.1.1. เฟสตรงข้ามเดิม

1.1.2. ปลายเปิด

1.1.2.1. เฟสเหมือนเดิม

1.1.3. กฎการสะท้อน

1.1.3.1. มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน

1.1.3.2. รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อนและ เส้นแนวฉากต้องอยู่บนระนาบเดียวกัน

1.2. หักเห

1.2.1. น้ำลึก

1.2.2. น้ำตื้น

1.2.2.1. v น้อย

1.2.2.2. แลมด้า น้อย

1.2.2.3. เซต้า เล็ก

1.2.3. มุมเซต้า วัดได้จาก

1.2.3.1. รังสีทำกับคลื่นแนวฉาก

1.2.3.2. หน้าคลื่นทำกับแนวรอยต่อของตัวกลาง

1.3. เลี้ยวเบน

1.3.1. การที่คลื่นเคลื่อนที่ไปหลังวัตถุได้

1.3.2. หลักฮอยเกนส์

1.3.2.1. ทุกจุดบนหน้าคลื่นเป็นแหล่งกำเนิดคลื่นใหม่ ทำให้เกิดคลื่นเคลื่อนที่ไปทุกทาง v เท่าเดิม

1.4. แทรกสอด

1.4.1. ช่องคู่

1.4.1.1. A ลงตัว

1.4.1.2. N ลงครึ่ง

1.4.2. ช่องเดี่ยว

1.4.2.1. N ลงตัว

1.4.2.2. A ลงครึ่ง

1.4.3. สูตร

1.4.3.1. S,P-S,,P=nแลมด้า

1.4.3.2. dsinเซต้า=nแลมด้า

1.4.3.3. d(X/L)=nแลมด้า

1.5. สมบัติของอนุภาค

1.5.1. สะท้อน

1.5.2. หักเห

1.6. โจทย์

1.6.1. ถ้าทราบระยะทาง S,P และ S,,P ให้ใช้สูตร S-P-S,,P=nแลมด้า

1.6.2. ถ้าทราบมุมเซต้า ที่เบนจากแนวกลางให้ใช้สูตร dsinเซต้า=nแลมด้า

1.6.3. ถ้าระยะทางที่เบนจากแนวกลางXและระยะห่าง L ให้ใช้สูตร d(X/L)=nแลมด้า

1.6.4. ให้หา v เมื่อให้ระยะความยาวและจำนวนลูป ดังนั้นต้องหา แลมด้า

2. เสียงและการได้ยิน

2.1. การสั่นพ้อง

2.1.1. การที่มีแรงมากระทำให้วัตถุสั่นด้วย f เท่ากับ f ธรรมชาติของวัตถุนั้นทำให้วัตถุนั้นสั่นแรงขึ้น

2.1.2. ปลายปิด

2.1.2.1. New node

2.1.3. ปลายเปิด

2.2. บีตส์

2.2.1. ความถี่บีตส์ = l f,-f,,l

2.2.2. ความถี่เสียงบีตส์ที่เราได้ยิน = (f,+f,,)/2

2.3. สูตรลัดหาความเร็วเสียงเมื่ออุณหภูมิไม่เกิน 45'C คือ Vt=331+0.6t

2.4. ความเร็วเสียง

2.4.1. v=s/t

2.4.2. v=fแลมดา

2.5. ความเข้มเสียง

2.5.1. l=P/A

2.5.2. l=P/[4pie(RxR)]

2.6. ระดับความเข้มเสียง

2.6.1. อัลฟ่า = l/l,(เบล)

2.6.2. เบต้า=10logl/l,(เดซิเบล)

2.7. รู้ไว้ใช่ว่า

2.7.1. เสียงที่คนฟังได้ f=20-20000Hz

2.7.2. ระดับความเข้ม 0-120 dB

2.7.3. ความเข้มสัมพัทธ์ =1-10^12

2.8. ความถี่มูลฐาน

2.8.1. ท่อปลายปิด

2.8.1.1. harmonic เป็นเลขคี่ f,3f,5f,...

2.8.2. ท่อปลายเปิด

2.8.2.1. harmonic เป็นเลขเรียง f,2f,3f,...

2.9. ปรากฎการณ์ดอปเปอร์

2.9.1. เป็นปรากฎการณ์ที่ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไปจากความถี่จริง

2.9.2. การคำนวณ

2.9.2.1. การเคลื่อนที่ของผู้ฟังไม่เกี่ยวข้องกับความยาวคลื่นเสียง

2.9.2.2. เมื่อแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่

2.9.2.2.1. แลมดา หน้ารถจะสั้นลง

2.9.2.2.2. แลมดา หลังรถจะยาวขึ้น

2.9.2.3. fปรากฏ = f0{(u-vL)/(u-vS) #ความเร็วใดมีทิศตรงข้ามกับเวกเตอร์ (จาก S ไป L) ต้องเป็นลบ

2.10. คลื่นกระแทก/กรวยเสียง

2.10.1. sinเซต้า = u/vS

2.10.2. เลขมัค = ความเร็วแหล่งกำเนิด/ความเร็วเสียง

2.10.3. ความเร็ววัตถุเคลื่อนที่เร็วกว่าความเร็วแสง ทำให้เกิดเสียงดังอย่างรุนแรง

3. แสงและทัศนอุปกรณ์

3.1. สูตร

3.1.1. สูตรลัด

3.1.1.1. m=f/(s-f)

3.1.1.2. m=(s'-f)/f

3.1.2. สูตรหลัก

3.1.2.1. 1/f=1/s+1/s'

3.1.2.2. m=l/O=s'/s

3.1.3. สูตรกระจกนูน สูตรกระจกเว้า

3.1.3.1. f=R/2

3.2. การเกิดภาพกระจกเว้า/เลนส์นูน

3.2.1. การสะท้อน

3.2.1.1. เกิดได้ทั้งภาพจริงและเสมือน

3.2.1.2. ถ้าภาพจริงมีขาาดเล็ก/ใหญ่กว่าวัตถุ

3.2.1.3. ถ้าภาพเสมือนจะมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ

3.3. การเกิดภาพกระจกนูน/เลนส์เว้า

3.3.1. การสะท้อน

3.3.1.1. เกิดแต่ภาพเสมือน,ขนาดย่อ ในระยะโฟกัส

3.4. แสงสีและสารสี

3.4.1. ลักษณะวัตถุ

3.4.1.1. วัตถุโปร่งใส

3.4.1.2. วัตถุโปร่งแสง

3.4.1.3. วัตถุทึบแสง

3.4.2. การผสมของแสงสีและสารสี

3.4.2.1. แสงสี

3.4.2.1.1. แม่สี : แดง เขียว น้ำเงิน

3.4.2.1.2. ทุกสีรวมกันได้สีขาว

3.4.2.2. สารสี

3.4.2.2.1. แม่สี : เหลือง แดงม่วง น้ำเงินเขียว

3.4.2.2.2. ทุกสีรวมกันได้สีแดง

3.5. การหักเห

3.5.1. คือการที่แสงเปลี่ยน v,แลมด้า เมื่อเคลื่อนที่ในตัวกลางต่างชนิดกัน (แต่ f คงที่)

3.5.2. ลึกจริง/ลึกปรากฏ = nวัตถุ/ตา

3.5.3. สูตร

3.5.3.1. n,v,=n,,v,,

3.5.3.2. nthe,sinเซต้า,=n,,sinเซต้า,,

3.5.3.3. n,แลมด้า=n,,แลมด้า,,

3.6. มุมวิกฤต

3.6.1. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่ n มากมาสู่ n น้อย รังสีจะเบนออกจากเส้นแนวฉาก

3.6.2. คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหเป็น 90 องศา

3.6.3. สามารถนำหลักการไปใช้ในเส้นใยนำแสง

3.6.3.1. การสื่อสาร : นำสัญญาณดิจิตอล

3.6.3.2. การแพทย์ : เอนโดสโคป

3.7. ทัศนอุปกรณ์

3.7.1. แว่นขยาย

3.7.1.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

3.7.1.2. ต้องวางวัตถุไว้ในระยะโฟกัสของเลนส์ จะทำให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดขยาย

3.7.1.3. คนปกติจะมีจุดใกล้ที่สุดที่มองเห็น 25 cm ดังนั้นเวลาการคำนวณระยะภาพเป็น 25 cm

3.7.2. กล้องถ่ายรูป

3.7.2.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

3.7.2.2. วางวัตตถุที่ไว้นอก 2F ของเลนส์ จะได้ภาพจริงหัวกลับขนาดย่อ

3.7.2.3. ส่วนประกอบ

3.7.2.3.1. เลนส์ > เป็นเลนส์นูนเพื่อรวมแสง

3.7.2.3.2. ไดอะแหรม > เป็นช่องเพื่อเปิดแสงให้เข้า คล้ายม่านตา ในมนุษย์

3.7.2.3.3. ชัตเตอร์ > ทำหน้าที่เปิด ปิดแสง เข้ากล้องสามารถตั้งความเร็วชัตเตอร์ได้

3.7.3. เครื่องฉายภาพนิ่ง

3.7.3.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

3.7.3.2. วางวัตถุไว้ระหว่าง 2F กับ F จะได้ ภาพจริงหัวกลับขนาดขยาย

3.7.3.3. มีกระจกสะท้อนแสงและเลนส์รวมแสงเพื่อเพิ่มความเข้มของแสง

3.7.4. การกระเจิงของแสง

3.7.4.1. การที่แสงเคลื่อนที่ไปชนอนุภาคเล็กๆแล้วทำให้โมเลกุลอนุภาคสั่นแล้วส่งคลื่นแสงออกไปรอบอนุภาคนั้นๆ

3.7.4.2. ถ้าอนุภาคมีขนาดใกล้เคียง ความยาวคลื่นแสงจะกระเจิงได้ดี