Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
อินเตอร์เน็ต(internet) por Mind Map: อินเตอร์เน็ต(internet)

1. การเข้าถึงอินเตอร์เน็ต

1.1. ผูใชที่เปนคนทํางาน นักเรียน หรือนักศึกษา มักจะเขาถึงอินเทอรเน็ตผานเครือขายของหนวยงานโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ซึ่งเชื่อมตอเขากับอินเทอรเน็ตความเร็วสูง ขณะที่ผูใชทั่วไปอาจใชวิธีการเชื่อมตออินเทอรเน็ตโดยใชโมเด็มผานสายโทรศัพท ซึ่งเปนอินเทอรเน็ตความเร็วต่ํา หรืออาจเชื่อมตอผานบรอดแบนดอินเทอรเน็ต (broadband internet connection) เชน เอดีเอสแอล (Asymmetric Digital Subscriber Line : ADSL) เคเบิลโมเด็มที่เชื่อมตอกับเครือขายเคเบิลทีวี หรือเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบไรสาย

1.2. สถานที่สาธารณะหลายแหง เชน โรงเรียน มหาวิทยาลัย สนามบิน หางสรรพสินคา โรงแรม  มักจะมีบริการอินเทอรเน็ตทั้งแบบมีสายและไรสาย เพื่อใหผูใชอุปกรณแบบพกพาสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ต  ไดโดยสะดวก

1.3. ผูใหบริการอินเทอรเน็ต หรือไอเอสพี (Internet Service Provider : ISP) ใหบริการการ  เชื่อมตอเขาสูอินเทอรเน็ตสําหรับผูใช โดยอาจคิดคาบริการเปนรายเดือน บริษัทที่ใหบริการอินเทอรเน็ตใน ประเทศไทย เชน ทีโอที ซีเอส ล็อกซอินโฟ กสท โทรคมนาคม ทีทีแอนดที และสามารถเทเลคอม  นอกจากนี้ไอเอสพียังใหบริการเสริมอื่นๆ เชน อีเมล เว็บเพจ พื้นที่จัดเก็บขอมูล หรือโทรศัพทระหวาง  ประเทศ ตัวอยางการเขาสูบริการอินเทอรเน็ตโดยผานผูใหบริการ

2. การติดตอสื่อสารบนอินเทอรเน็ต

2.1. คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อสื่อสารกันระหว่างกันบนอินเตอร์เน็ต มีลักษณะที่ต่างกันเช่น ประเภทของคอมพิวเตอร์ CPU หรือ Operation System นอกจากนี้ รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์สู่อินเทอร์เน็ตไม่ว่าจะเป็นแลนหรือแวน ก็มีรูปแบบต่างกัน การที่อินเทอรเน็ตสามารถเชื่อมโยง คอมพิวเตอรทีมีความแตกตางกันใหสามารถทํางานรวมกันได เนื่องจากใชโพรโทคอลเดียวกันในการสื่อสารที่  (Transmission Control Protocol / Internet Protocol : TCP/IP)  ติดตอสื่อสารบนอินเทอรเน็ตโดยใชโพรโทคอล ทีซีพี/ไอพี

2.2. 1) เลขที่อยูไอพี (IP address) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันอยู่บนอินเตอร์เน็ตจะมีหมายเลขอ้างอิงในการติดต่อสื่อสารเรียกว่า เลขที่อยู่ IP address ซึ่งจะต้องไม่ซ้ำกันเลย จะมีตัวเลข 4 ชุด แต่ละชุดจะมีรจุดคั่น เช่น 203.172.220.99

2.3. 2) ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System : DNS) ตัวเลขซึ่งยากตอการจดจําและอางอิงระหวางการใชงาน ดังนั้นจึงกําหนดใหมีระบบชื่อโดเมน Name System : DNS) ซึ่งแปลงเลขที่อยูไอพีใหเปนชื่อโดเมนที่อยูในรูปของชื่อยอภาษาอังกฤษหลายสวนคั่นด้วยเครื่องหมายเครื่องหมายจุด เช่น www.google.com ผู้ใช้สามารถจดทะเบียนโดเมนที่จะให้ผู้อื่นติดต่อเข้ามาได้

3. ความหมายของอินเตอร์เน็ต

3.1. อินเทอรเน็ต (Internet) มาจากคําวา Inter Connection Network เปนเครือขายขนาดใหญที่เชื่อมตอเครือขายคอมพิวเตอรขององคกรธุรกิจ หนวยงานของรัฐบาล สถานศึกษา ตลอดจนเชื่อมโยงคอมพิวเตอรสวนบุคคลเขาไวดวยกัน ทําใหขอมูล สารสนเทศ สินคา และบริการที่นําเสนอผานเครือขายคอมพิวเตอรเหลานี้สามารถเขาถึงไดจากคอมพิวเตอรหรืออุปกรณอื่นๆ จากที่ตางๆ ไมวาจะเปนบานสํานักงาน โรงเรียน ชายทะเล หรือรานอาหารทั่วโลก        ในปจจุบันมีคนจากทั่วโลกนับพันลานคนที่เขาถึงบริการบนอินเทอรเน็ต เชน เวิลดไวดเว็บ อีเมล (e-mail) พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-commerce) หองคุย (chat room) การสงสารทันที (Instantmessaging) และวอยซโอเวอรไอพีหรือวีโอไอพี (Voice over IP : VoIP)

4. โครงสรางพื้นฐานของอินเทอรเน็ต

4.1. โครงสรางพื้นฐานของอินเทอรเน็ต ประกอบดวยเครือขายระดับทองถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับชาติและระดับนานาชาติที่เชื่อมโยงเขาดวยกันอินเทอรเน็ตเชื่อมโยงขอมูลจากเครือขาย  คอมพิวเตอรหนึ่งไปยังเครือขายอื่นดวยความเร็วและคุณภาพที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับรูปแบบการสื่อสาร และ สื่อที่ใชในการเชื่อมโยงเครือขาย เชน สายโทรศัพท สายไฟเบอรออพติก และคลื่นวิทยุถึงแมในปจจุบันพื้นที่ใหบริการอินเทอรเน็ตทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง อินเทอรเน็ตก็ยังคงเปน  เครือขายสาธารณะที่ไมมีผูใดเปนเจาของ หนวยงานของรัฐและเอกชนมีหนาที่ในการดูแล และจัดการจราจร ขอมูลบนอินเทอรเน็ตในเฉพาะเครือขายที่รับผิดชอบ เชน เวิลดไวดเว็บคอนซอรเทียม (World Wide Web Consortium : W3C) เปนหนวยงานที่ทําหนาที่ควบคุมดูแล รวมทั้งกําหนดมาตรฐาน คําแนะนํา ตางๆ ที่เกี่ยวกับอินเทอรเน็ต โดยมีวัตถุประสงคใหอินเทอรเน็ตมีการเติบโตอยางตอเนื่อง