Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
DQ por Mind Map: DQ

1. Digital Emotional Intelligence

1.1. หมายถึง ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ มีจิตใจที่มั่นคง การมองโลกในแง่ดี รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา มีความมุ่งมั่นแน่วแน่ มีเหตุผล มีสติ สามารถควบคุมตนเอง มีความสามารถในการรับรู้ถึงความต้องการของคนอื่น และรู้จักมารยาททางสังคม เป็นต้น

1.2. ความฉลาดทางอารมณ์ประกอบด้วยปัจจัยสำคัญ 3 ประการ

1.2.1. ดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเอง รู้จักเห็นใจผู้อื่น และมีความรับผิดชอบต่อส่วนร่วม ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเอง เช่น รู้อารมณ์และความต้องการของตนเอง, ควบคุมอารมณ์และความต้องการได้ และ แสดงออกอย่างเหมาะสม 2.ความสามารถในการเห็นใจผู้อื่น อาทิ ใส่ใจผู้อื่น, เข้าใจและยอมรับผู้อื่น และแสดงความเห็นใจอย่างเหมาะสม 3.ความสามารถในการรับผิดชอบ คือ รู้จักการให้ รู้จักการรับ, รู้จักรับผิด รู้จักให้อภัย และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม

1.2.2. เก่ง หมายถึง ความสามารถในการรู้จักตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจ แก้ปัญหาและแสดงออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น ประกอบไปด้วย 1.ความสามารถในการรู้จักและสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง นั่นคือ รู้ศักยภาพของตนเอง, สร้างขวัญและกำลังใจให้ตนเองได้ และมีความมุ่งมั่นที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย 2.ความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหา ได้แก่ รับรู้และเข้าใจปัญหา, มีขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม และมีความยืดหยุ่น 3.ความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น เช่น รู้จักการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น, กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และแสดงความเห็นที่ขัดแย้งได้อย่างสร้างสรรค์

1.2.3. สุข หมายถึง ความสามารถในการดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข มีความภูมิใจในตนเองพอใจในชีวิต และมีความสุขสงบทางใจ ประกอบไปด้วย 1.ความภูมิใจในตนเอง คือ เห็นคุณค่าในตนเอง, เชื่อมั่นในตนเอง 2.ความพึงพอใจในชีวิต อาทิ รู้จักมองโลกในแง่ดี, มีอารมณ์ขัน และพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ 3.ความสงบทางใจ เช่น มีกิจกรรมที่เสริมสร้างความสุข, รู้จักผ่อนคลาย และมีความสงบทางจิตใจ

2. Digital Security

2.1. สามารถตรวจสอบเบื้องต้นได้ว่าตนเองถูกคุกคามด้วยภัยบนโลกไซเบอร์อยู่หรือไม่ เช่น การถูกแฮกบัญชี ติดไวรัส ถูกขโมยรหัสผ่าน และสามารถป้องกัน หลีกเลี่ยง จัดการได้อย่างถูกวิธีเมื่อถูกละเมิดความปลอดภัย

3. Digital Safety

3.1. หมายถึงทักษะในการบริหารจัดการความเสี่ยงในโลกออนไลน์ เช่น การไม่ไปรังแกและสามารถจัดการกับการถูกรังแกบนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying) ได้อย่างตลอดรอดฝั่ง รวมไปถึงการเกี้ยวพาราสี การเหยียดผิว-เหยียดชนชั้น รวมไปถึงเนื้อหาต่างๆ ที่สุ่มเสี่ยงเช่น เนื้อหาที่มีความรุนแรง โป๊เปลือย ลามกหยาบคายด้วย

3.2. รู้จักบริหารจัดการความเสี่ยงที่จะต้องเจอในโลกออนไลน์ เช่น การถูกกลั่นแกล้งรังแกด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ข้อความหรือภาพ การเหยียดหยัน หรือความสุ่มเสี่ยงในเรื่องของความรุนแรง ลามกโป๊เปลือย หยาบคาย หรือการตกเป็นเครื่องมือของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง และที่สำคัญก็ไม่ควรเป็นผู้กระทำการดังข้างตนกับผู้อื่นเสียเอง

4. Digital Literacy

4.1. คือ ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ การใช้ (Use) เข้าใจ (Understand) การสร้าง (create) เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5. สมาชิกกลุ่ม

5.1. นาย ก้องภพ กันทะปวง ม.3.2 เลขที่ 1

5.2. ด.ช. ชินโนสุเกะ ยาดะ ม.3.2 เลขที่ 2

5.3. ด.ญ. กันติยา เปี่ยมตาชู ม.3.2 เลขที่ 10

5.4. ด.ช. กฤตยชญ์ คงศรีเจริญ ม.3.2 เลขที่ 5

5.5. นาวสาว สุมิตรา อรัญปักษ์ ม.3.2 เลขที่ 36

6. Digital Use

6.1. แบ่งเป็น

6.1.1. 1. Screen time

6.1.1.1. Screen time is the amount of time spent using a device such as a computer, television, or video game console. It can be an element of a sedentary lifestyle.

6.1.1.2. Screen time and children

6.1.1.2.1. How much screen time a child receives may depend on socioeconomic status and race. Too much screen time can affect a child's health.

6.1.2. 2. Digital health

6.1.2.1. Digital health is the convergence of digital and genomic technologies with health, healthcare, living, and society to enhance the efficiency of healthcare delivery and make medicines more personalized and precise. The discipline involves the use of information and communication technologies to help address the health problems and challenges faced by patients. These technologies include both hardware and software solutions and services, including telemedicine, web-based analysis, email, mobile phones and applications, text messages, and clinic or remote monitoring sensors. Generally, digital health is concerned about the development of interconnected health systems to improve the use of computational technologies, smart devices, computational analysis techniques and communication media to aid healthcare professionals and patients manage illnesses and health risks, as well as promote health and wellbeing.

6.1.3. 3. Community participation

6.1.3.1. The participation of the community broadcasting sector in the development of digital radio provides a potentially valuable opportunity for non-market, end user-driven experimentation in the development of these new services in world. However this development path is constrained by various factors, some of which are specific to the community broadcasting sector and others that are generic to the broader media and communications policy, industrial and technological context. This paper filters recent developments in digital radio policy and implementation through the perspectives of community radio stakeholders, obtained through interviews, to describe and analyse these constraints. The early stage of digital community radio presented here is intended as a baseline for tracking the development of the sector as digital radio broadcasting develops. We also draw upon insights from scholarly debates about citizens media and participatory culture to identify and discuss two sets of opportunities for social benefit that are enabled by the inclusion of community radio in digital radio service development.

6.2. mean

6.2.1. Help me , i can't typing Thai .Who can translate this page. thank you

7. digital rights

7.1. การจัดการสิทธิดิจิทัลเป็นเรื่องที่มีการถกเถียงกันอย่างมาก ฝ่ายสนับสนุนเห็นว่า การจัดการสิทธิดิจิทัลจำเป็นสำหรับเจ้าที่ลิขสิทธิ์สำหรับการป้องการการทำซ้ำโดยไม่ได้รับอนุญาต ทำให้แน่ใจว่ามีรายได้จากผลงานต่อไป ส่วนฝ่ายที่ติเตียนโดนเฉพาะมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรีเสนอว่าการใช้คำว่า "สิทธิ" ทำให้เกิดความเข้าใจผิดๆ จึงควรใช้ศัพท์ว่า การจัดการบังคับควบคุมดิจิทอล แทน

7.2. คือเทคโนโลยีที่ใช้โดยเจ้าของลิขสิทธิ์ เพื่อควบคุมการเข้าถึงและการใช้งานข้อมูลดิจิทัล (เช่น ซอฟต์แวร์ เพลง ภาพยนตร์) และฮาร์ดแวร์ซึ่งใช้จำกัดการใช้งานข้อมูลดิจิทัลเฉพาะงานใดงานหนึ่ง การจัดการสิทธิดิจิทัลมักสับสนกับ การป้องกันการคัดลอก ซึ่งหมายถึงเทคโนโลยีในการจำกัดการใช้งานและการเข้าถึงข้อมูลบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการสิทธิดิจิทัล

8. Digital Identity

8.1. แอพลิเคชั่นนี้จะทำหน้าที่ติดตามข้อมูลดิจิตอลและพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมของเจ้าของสมาร์ทโฟน เพื่อนำมาใช้ยืนยันตัวตนของบุคคลดังกล่าว โดยผู้ใช้งานสมาร์ทโฟนจะร่วมกันสร้างเครือข่ายชื่อเสียง หรือ “Reputation Network” ที่เปิดให้ผู้ใช้งานสามารถขอให้เพื่อนหรือสมาชิกในครอบครัวช่วยยืนยันตัวตนผู้ใช้งานคนอื่นๆ ว่าเป็นไปตามที่เจ้าตัวกล่าวไว้จริงหรือไม่ ยิ่งใช้งานแอพพลิเคชั่นนี้มากขึ้นเท่าไร ข้อมูลที่ระบุถึงตัวตนของผู้ใช้งานก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น

8.2. คิอ คนที่ใช้ชีวิตอยู่ในยุคดิจิตอลจะต้องมีทักษะในการสร้าง บริหารอัตลักษณ์และชื่อเสียงในโลกออนไลน์ของตัวเองให้เป็น ซึ่งนั่นรวมไปถึงการจัดการกับตัวตนในโลกออนไลน์ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวด้วยค

8.3. ความสามารถในการสร้างและบริหารจัดการอัตลักษณ์ที่ดีของตนเองไว้ได้อย่างดีทั้งในโลกออนไลน์และโลกความจริง

8.4. เช่น การผยแพร่และการรักษาข้อมูลโดยคำนึงถึงชื่อเสียงของตัวเอง ตัวตนและความเป็นจริง เพื่อไม่ให้ข้อมูลเหล่านั้นย้อนกลับมาทำความเสียหายให้ตัวเองในภายหลัง

9. Digital Communication

9.1. การสื่อสารในระบบดิจิตอล (Digital communications) การใช้สัญญาณดิจิตอลในการสื่อสารนั้นมีข้อได้เปรียบกว่าสัญญาณอนาลอกหลายประการเป็นต้นว่าสัญญาณดิจิตอลมีระดับที่แน่นอนการได้สัญญาณเดิมกลับคืนมาอย่างถูกต้องนั้นทำได้ดีกว่าสัญญาณอนาลอกกล่าวอีกนัยหนึ่งการทนต่อสัญญาณรบกวนดีกว่าสัญญาณอนาลอกรวมถึงการจัดการสัญญาณที่ทำได้ง่ายกว่าเช่นการเข้ารหัสในรูปแบบต่างๆแต่อย่างไรก็ตามโดยทั่วไปการส่งสัญญาณในระบบดิจิตอลต้องการแบนด์วิดท์สูงกว่าอนาลอก และต้องการการ Synchronizeระหว่างด้านส่งกับด้านรับรวมถึงข่าวสารที่ต้องการส่งจะต้องแปลงให้อยู่ในรูปแบบของสัญญาณดิจิตอลก่อนส่งและแปลงกลับทางด้านรับถ้าต้องการ