登録は簡単!. 無料です
または 登録 あなたのEメールアドレスで登録
Gastrointestinal System により Mind Map: Gastrointestinal System

1. ลำไส้ใหญ่

1.1. ท้องเดิน/ท้องเสีย/อุจจาระร่วง

1.1.1. ถ่ายมากกว่า3ครั้ง

1.1.2. กลไก

1.1.2.1. อุจจาระเคลื่อนผ่านลำไส้ใหญ่อย่างรวดเร็ว

1.1.3. สาเหตุ

1.1.3.1. การติดเชื้อในลำไส้ใหญ่

1.1.3.2. การขาดแลคเตส

1.1.3.3. ท้องเสียจากสภาพจิตใจ

1.1.3.4. ลดการดูดซึม

1.2. Imperforated anus

1.2.1. ภาวะไม่มีรูทวารหนัก ผิดปกติโดยกำเนิด

1.2.2. สาเหตุ+กลไก

1.2.2.1. Membrane กั้นส่วนปลายของลำไส้และด้านนอกของทวารหนักไม่สลายตัว

1.2.2.2. การอุดตันลำไส้ใหญ่

1.2.3. อาการ

1.2.3.1. ทารกไม่ถ่าย

1.2.3.2. ขาดน้ำและเกลือแร่

1.2.3.3. อาเจียน

1.3. Megacolon

1.3.1. สาเหตุ+กลไก

1.3.1.1. Gangia ไม่ทำงาน

1.3.1.2. ลำไส้ใหญ่ไม่บีบตัว

1.3.1.3. การอุดตันของลำไส้

1.3.1.4. ความดันในลำไส้ส่วนบนเพิ่มมากขึ้น

1.3.2. อาการ

1.3.2.1. ทารกไม่ถ่าย

1.3.2.2. อาเจียน

1.3.2.3. ขาดน้ำและเกลือแร่

1.4. ท้องผูก constipation

1.4.1. ไม่มีการถ่าย3วัน

1.4.2. สาเหตุ

1.4.2.1. ลำไส้ยาวมากๆ

1.4.2.2. การอุดตัน

1.4.2.3. ความผิดปกติของทวารหนัก

1.4.2.4. การขาดganglionic cell ในผนังลำไส้

1.4.2.5. ลดกากอาหาร

1.4.2.6. ยังยั้งรีเฟล็กซ์การขับถ่าย

2. ลำไส้เล็ก

2.1. การอุดกั้นและตีบแคบ:ลดการเคลื่อนไหวperistalsis

2.1.1. สาเหตุ

2.1.1.1. มีสิ่งอุดกั้นคือเนื้องอก พยาธิ ก้อนนิ่ว

2.1.1.2. พังผืดภายในลำไส้

2.1.1.3. การเคลื่อนอาจทำให้ลำไส้กลืนกัน

2.1.1.4. อุบัติเหตุ/ผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง

2.1.1.5. สารพิษ น้ำย่อย กรดเกลือ

2.1.1.6. การติดเชื้อกระแสเลือด

2.1.2. อาการ

2.1.2.1. ปวดท้องทันที

2.1.2.2. คลื่นไส้อาเจียน

2.1.2.3. ท้องอืด เคาะโปร่ง

2.1.2.4. ผายลมและถ่ายอุจจาระ

3. ช่องปาก

3.1. ความผิดปกติในการพูดไม่ชัดตั้งแต่กำเนิด

3.2. ปากแหว่งcleft lipเพดานโหว่Cleft palate

3.2.1. ปัจจัย

3.2.1.1. พันธุกรรม(heredity)

3.2.1.1.1. พ่อแม่มีปากแหว่งเพดานโหว่ลูกมีโอกาส60%

3.2.1.2. ภาวะแวดล้อม(environment)

3.2.1.2.1. ระยะ12สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์สามารถทราบถึงการติดเชื้อ

3.2.2. พยาธิสรีรภาพ

3.2.2.1. มีปัญหาการดูดกลืน การสำลัก หายใจ

3.2.2.2. การติดเชื้อที่ปอดและหูชั้นกลาง

3.2.2.3. ความผิดปกติขากรรไกร ฟัน และการบดเคี้ยว

3.3. บาดแผลในช่องปาก(Ulcer /Lesion)

3.3.1. มี3ประเภท

3.3.1.1. Solitary lesion

3.3.1.2. Aphthous ulcer

3.3.1.3. Chronic ulcer:cancer

3.3.2. สาเหตุ

3.3.2.1. สารเคมี,ความร้อน

3.3.2.2. ความเครียด,พักผ่อนน้อย

3.3.2.3. การติดเชื้อ-ไวรัส

3.3.3. กลไก

3.3.3.1. เจ็บ

3.3.3.2. กลืนลำบาก

3.3.3.3. รับประทานน้อยลง

3.3.3.4. อักเสบ

3.4. Salivary gland

3.4.1. บกพร่องในการสร้างและหลั่งน้ำลาย

3.4.2. สาเหตุ

3.4.2.1. กรรมพันธ์ุ

3.4.2.2. การติดเชื้อ

3.4.2.3. รังสีเคมีบำบัด

3.4.2.4. Facial nerve palsy

3.4.3. กลไก

3.4.3.1. ปากแห้ง

3.4.3.2. รับประทานอาหารไม่อร่อย

3.4.3.3. กลืนลำบาก

3.4.3.4. น้ำหนักตัวลดลง

3.5. การกลืนอาหารบกพร่อง/กลืนลำบาก(Dyshagia)

3.5.1. สาเหตุ

3.5.1.1. Mechanism

3.5.1.1.1. การตีบ อุดกั้น เบียด

3.5.1.1.2. ลดปริมาณน้ำลาย

3.5.1.2. Motor

3.5.1.2.1. การทำลาย

3.5.1.2.2. กล้ามเนื้ออ่อนแรง

3.5.1.2.3. กล้ามเนื้อแข็งแกร่ง

3.5.1.2.4. หมดสติ:ยาสลบ

3.5.2. กลไก

3.5.2.1. ลดแรงการกลืนในช่องoropharynx

3.5.2.2. Soft palateเพดานอ่อน ลิ้นไก่Uvula ปิดNasopharynxไม่สนิท

3.5.2.3. ฝากล่องเสียงปิดกล่องเสียงไม่สนิท

3.5.2.4. กลืนเจ็บต่อมน้ำเหลืองโต หูดับ จากอุดตันEustachian tube

4. หลอดอาหาร

4.1. หลอดอาหารตีบ(Esophageal Atresia:EA)

4.1.1. เป็นความพิการแต่กำเนิดที่ต้องช่วยเหลืออย่างรีบด่วน

4.1.2. กลไกและอาการ

4.1.2.1. น้ำลายมากHypersalivation

4.1.2.1.1. น้ำลายเข้าสู่กระเพาะอาหารไม่ได้ลดลง ทำให้เด็กขาดสารอาหาร

4.1.2.2. สำลัก ไอเขียว หยุดหายใจ

4.1.2.2.1. น้ำลายเข้าสู่หลอดลม

4.1.2.3. ท้องป่อง

4.1.2.3.1. อากาศเข้าสู่กระเพาะ

4.2. การเคลื่อนไหวผิดปกติ

4.2.1. หูรูดไม่คลายตัว(Achalasia)

4.2.1.1. สาเหตุ

4.2.1.1.1. ความผิดปกติของกลุ่มเซลล์ประสาทในผนังหลอดอาหาร

4.2.1.2. กลไก+อาการ

4.2.1.2.1. อาหารผ่านเข้าสู่กระเพาะยาก

4.2.1.2.2. หลอดอาหารขยายใหญ่

4.2.1.2.3. ไอ อาเจียนโดยไม่มีการคลื่นไส้

4.2.1.2.4. สำลักเข้าหลอดลม

4.2.1.2.5. การติดเชื้อ เกิดแผลเรื้อรัง

4.2.1.2.6. มะเร็งหลอดอาหารชนิดSquamous cell

4.2.2. โรคหนังแข็ง(Scleroderma)

4.2.2.1. สาเหตุ

4.2.2.1.1. Fibrous tissueแทนที่กล้ามเนื้อเรียบ

4.2.2.2. กลไก

4.2.2.2.1. หลอดอาหารส่วนปลายเเข็งไม่ยืดหยุ่น

4.2.2.2.2. Lower esophageal sphincter แข็งไม่ยืดหยุ่น

4.2.2.3. อาการ

4.2.2.3.1. แสบร้อนอก

4.2.2.3.2. กลืนลำบาก

4.2.2.3.3. ปวดขณะกลืน

5. กระเพาะอาหาร

5.1. การสร้างและหลั่งน้ำย่อยผิดปกติ

5.2. แผลในกระเพาะอาหาร

5.2.1. มักพบที่antrum+lessure curvature

5.2.2. อาการ

5.2.2.1. กินแล้วจะปวดท้อง มักผอมลง

5.3. แผลในลำไส้เล็ก

5.3.1. มักพบบริเวณส่วนต้น

5.3.2. อาการ

5.3.2.1. Night pain(กลางคืนมีการหลั่งกรดมาก)มักอ้วนขึ้น

5.4. สาเหตุ

5.4.1. หลั่งกรดมากเกิน

5.4.2. Barrierน้อยเกิน

5.4.3. ใช้NSAIDs

5.4.4. Duodenal-gastric reflux