2. การวิเคราะห์พลวัตทางเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อการจัดการศึกษายุคใหม่

登録は簡単!. 無料です
または 登録 あなたのEメールアドレスで登録
2. การวิเคราะห์พลวัตทางเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อการจัดการศึกษายุคใหม่ により Mind Map: 2. การวิเคราะห์พลวัตทางเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อการจัดการศึกษายุคใหม่

1. ผู้จัดทำ

1.1. นางสาวศิริพร อิ่มชื่น

1.1.1. นางสาวรัตนาพร ประดิษฐ์

1.2. นางสาวเจนจิรา สีนาค

1.2.1. นางสาวณัฐริกา ประเสริฐสาย

1.2.1.1. นางสาวลลิตา จิ๋วโต

2. p

3. ด้านปัจจัยภายนอก

3.1. นางสาวศิริพร อิ่มชื่น

3.2. โอกาส (Opportunity)

3.2.1. O2 ปัจจัยด้านการเมืองและกฎหมาย

3.2.1.1. O1 นโยบายรัฐบาล

3.2.2. O3 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณและสิ่งของจากบริษัท ห้างร้านรอบๆบริเวณโรงเรียน

3.2.2.1. O4 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ(เงินอุดหนุน)จาก สพฐ.

3.2.3. O5 เป็นโรงเรียนที่บุคคลภายนอกยอมรับ

3.2.3.1. O6 ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากผู้นำชุมชน ชุนชน และผู้ปกครอง

3.2.4. O7 ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากผู้นำชุมชน ชุนชน และผู้ปกครอง

3.2.4.1. O8 เศรษฐกิจในชุมชนดีเอื้อประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน

3.2.5. O9 ความต้องการของผู้ปกครองในการนานักเรียนเข้า มาเรียนมีจำนวนมาก

3.2.6. O10 มีการใช้หลักสูตรใหม่นำร่อง

3.2.7. O11 โรงเรียนเป็นโรงเรียนแข่งขันสูง

3.2.8. O12 โรงเรียนเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของชุมชน

3.2.9. O13 โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนเมืองทำให้การเดินทางมาค่อนข้างสะดวก

3.2.10. O14 สภาพแวดล้อมที่ตั้งของโรงเรียนเหมาะสม มีบรรยากาศร่มรื่น สวยงาม เอื้ออำนวยต่อการเรียนการสอน

3.3. อุปสรรค (Threat)

3.3.1. T7 เทคโนโลยีมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว ทาให้นักเรียนปฏิบัติตามไม่ทัน

3.3.1.1. T8 อาชีพของผู้ปกครอง

3.3.1.2. T9 ภาวะเศรษฐกิจถดถ้อยท าให้ผู้ปกครองจำนวนหนึ่งไม่สามารถ สนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนได้

3.3.1.2.1. T10 ขาดวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในโรงเรียนยังไม่ทั่วถึง

3.3.2. T1 นโยบายของโรงเรียนเปลี่ยนตามวาระผู้บริหาร

3.3.3. T2 มีการแข่งขันกับสถาบันอื่นๆ

3.3.3.1. T3 นโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับการศึกษามีการ เปลี่ยนแปลง

3.3.4. T4 การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นไปอย่างรวดเร็ว

3.3.5. T5 ค่าครองชีพสูงทำให้บุคลากรและผู้ปกครองมีค่าใช้จ่ายสูงและมีรายได้ไม่แน่นอน มีปัญหาเรื่องการเงิน

3.3.6. T11 การรักความสะดวกสบายและความสนุก อาจทำให้นักเรียนส่วนใหญ่ในความบันเทิงมากกว่าการแสวงหาความรู้จึงเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

3.3.7. T6 พื้นที่ของโรงเรียนมีขนาดเล็ก

3.4. นางสาวลลิตา จิ๋วโต

4. ด้านปัจจัยภายใน

4.1. นางสาวรัตนาพร ประดิษฐ์ (จุดแข็ง)

4.2. จุดแข็ง (Strength)

4.2.1. S1ระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และความรู้ในการบริหารองค์กร

4.2.1.1. S2เน้นการผลิตที่ทันสมัย มีคุณภาพมาตรฐาน รวดเร็ว

4.2.1.1.1. S3เน้นการไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม / ทรัพยากรธรรมชาติ

4.2.2. S4เน้นความร่วมมือที่เสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ

4.2.2.1. S5ระบบซับซ้อนเชื่อมโยงถึงตั้งแต่ระบบผลิตถึงจำหน่าย

4.2.3. S6เกิดผลกระทบของการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตทำให้เกิดการผลิตสินค้าหลายอย่าง

4.2.3.1. S7ความเจริญของอุตสาหกรรมส่งผลถึงความก้าวหน้าของภาคเกษตรกรรม ธุรกิจบริการ

4.2.4. S8เกิดการจ้างแรงงานมากขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น

4.2.4.1. S9ความเจริญทางเศรษฐกิจในยุคใหม่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย ส่่งผลต่อสถานศึกษา ต้องสอดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยี

4.2.5. S10การศึกษาขยายตัวมากขึ้น ความต้องการสูงขึ้น

4.3. นางสาวเจนจิรา สีนาค

4.4. จุดอ่อน

4.4.1. W2 แหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนไม่เพียงพอในการเรียนรู้

4.4.1.1. W1 ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ของผู้ปกครอง

4.4.2. W4 งบประมาณในการจัดสรรขึ้นอยู่กับสภาพสิ่งแวดล้อมบริบทของชุมชน โรงเรียน

4.4.2.1. W3 สื่ออุปกรณ์ไม่เพียงพอต่อการเรียนรู้

4.4.2.2. W5 จำนวนครูไม่เพียงพอหรือสอนไม่ตรงเอกวิชาที่ตนจบมาเนื่องจากจำนวนอัตรากำลังไม่เพียงพอ หรือสถานศึกษาไม่มีรายได้เพื่อจ้างสอน

4.4.3. W9 การเท่าเทียมในการจัดการดูแลนักเรีียนระหว่างโรงเรียนเอกชน กับรัฐบาล

4.4.3.1. W8 โรงเรียนไม่มีงบประมาณในการนำบุคลากรไปศึกษาดูงานเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้

4.4.4. W7 การศึกษาต้องพัฒนาคนให้มีทักษะการทำวิจัย ให้สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ที่มีคุณค่า

4.4.4.1. W6 ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรมีน้อย

4.4.5. W10 ขาดการประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนในด้านกิจกรรมหรือการแข่งขัน เมื่อนักเรียนได้รับ รางวัลหรือทาประโยชน์ให้กับโรงเรียน ควรให้ บุคลากรภายนอกได้รับทราบ

4.4.6. W12 นักเรียนที่มาจากครอบครัวที่ยากจน มีสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาไม่เพียงพอ

4.4.6.1. W11สภาพเศรษฐกิจของชุมชนส่วนใหญ่เป็นภาคเกษตรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรต่ำส่งผลกระทบต่อการระดมทรัพยากรเพื่อจัดการศึกษา

4.4.7. W13 การศึกษาต่อและพัฒนาความรู้ด้านการปฏิบัติการวิจัย ยังได้รับการสนับสนุนอยู่น้อยมาก และยังขาดความเข้าใจในการทำวิจัย

4.5. นางสาวณัฐริกา ประเสริฐสาย (จุดอ่อน)