บทที่ 9 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก

登録は簡単!. 無料です
または 登録 あなたのEメールアドレスで登録
บทที่ 9 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก により Mind Map: บทที่ 9 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก

1. 9.3 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของลำต้น

1.1. โครงสร้างภายในของปลายยอดตัดตามยาว

1.1.1. ปลายยอดจะมีส่วนของใบและตาตามซอกแตกออกมาด้านข้างด้วย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1.1.1.1. 1.เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (apical shoot meristem)

1.1.1.2. 2.ใบเริ่มเกิด หรือ เนื้อเยื่อกำเนิดใบ (leaf primordium)

1.1.1.3. 3.ใบอ่อน (young leaf)

1.1.1.4. 4.ลำต้นอ่อน

1.2. โครงสร้างภายในของลำต้นระยะที่มีการเติบโตปฐมภูมิ

1.2.1. จะพบว่า บริเวณของลำต้นอ่อนที่เซลล์มีการเปลี่ยนสภาพไปเป็นเนื้อเยื่อถาวรต่างๆนั้น จะเห็นเป็นบริเวณต่างๆ 3 บริเวณต่างๆดังนี้

1.2.1.1. 1.เอพิเดอร์มิส (epidermis)

1.2.1.2. 2.คอร์เท็กซ์ (cortex)

1.2.1.3. 3.สตีล (stele)

1.2.1.3.1. 3.1 วาสคิวลาร์บันเดิล (vascular bundle)

1.2.1.3.2. 3.2 พิธ (pith)

1.3. โครงสร้างภายในของลำต้นระยะที่มีการเติบโตทุติยภูมิ

1.3.1. การเติบโตทุติยภูมิของลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ทำให้ลำต้นมีขนาดใหญ่ขึ้น เนื่องจากมีการสร้างเนื้อเยื่อถาวรเพิ่มจากการแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างซึ่งเป็นเนื้อเยื่อเจริญทุติยภูมิ ได้แก่ วาสคิวลาร์แคมเบียมและคอร์กแคมเบียม

2. 9.4 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของใบ

2.1. การเจริญเติบโตของใบ

2.1.1. ใบเริ่มเกิดจะเจริญและพัฒนาไปเป็นใบอ่อน ตรงกลางโคนใบจะเห็นเซลล์ขนาดเล็กเรียงตัวเป็นแนวยากจากลำต้นอ่อนและเปลี่ยนสภาพต่อจนกระทั่งได้เป็นใบที่เจริญเต็มที่และมีสีเขียวเข้ม

2.1.2. โครงสร้างภายนอกของใบ

2.1.2.1. ใบของพืชส่วนใหญ่ประกอบด้วย 2 ส่วน

2.1.2.1.1. 1.ก้านใบ (petiole)

2.1.2.1.2. 2.แผ่นใบ (blade)

2.2. โครงสร้างภายในของใบ

2.2.1. โครงสร้างของภายในของใบพืชใบเลี้ยงคู่และใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตัดตามขวาง ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 กลุ่ม ดังนี้

2.2.1.1. 1.เอพิเดอร์มิส (epidermis)

2.2.1.2. 2.มีโซฟิลล์ (mesophyll)

2.2.1.2.1. 2.1 แพลิเซดมีโซฟิลล์

2.2.1.2.2. 2.2สปองจีมีโซฟิลล์

2.2.1.3. 3.วาสคิวลาร์บันเดิล (vascular bundle)

3. 9.1 เนื้อเยื่อพืช (plant tissue)

3.1. 9.1.1 เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue) หรือ meristem เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีผนังเซลล์ปฐมภูมิบางและมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เซลล์ที่ได้จากการแบ่งส่วนหนึ่งจะเปลี่ยนเป็นเนื้อเยื่อถาวรส่วนนึงยังคงเป็นเนื้อเยื่อเจริญ แบ่งตามตำแหน่งได้ 3 ประเภท คือ

3.1.1. 1.เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem) พบได้ 2 บริเวณ คือ ปลายยอด กับ ปลายราก

3.1.2. 2.เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem) จัดเป็นการเจริญเติบโตแบบทุติยภูมิ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แคมเบียม

3.1.3. 3.เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem) เป็นเนื้อเยื่อส่วนที่อยู่โคนปล้องหรือเหนือข้อ

3.2. 9.1.2 เนื้อเยื่อถาวร (permannat tissure) เปลี่ยนมาจากเนื้อเยื่อเจริญ มีรูปร่างคงที่ และไม่สามารถแบ่งเซลล์ได้อีก

3.2.1. แบ่งตามหน้าที่ได้เป็น 3 ระบบ คือ

3.2.1.1. 1.ระบบเนื้อเยื่อผิว (dermal tissue system) ประกอบด้วยเอพิเดอร์มิส และ เพริเดิร์ม

3.2.1.2. 2.ระบบเนื้อเยื่อพื้น (ground tissue หรือ fundamental tissue system) ประกอบด้วย พาเรงคิมา คอลเลงคิมา สเกลอเรงคิมา

3.2.1.3. 3.ระบบเนื้อเยื่อท่อลำเลียง (vascular tissue system) ประกอบด้วยไซเล็ม และ โฟลเอ็ม

3.2.2. มีหน้าที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของพืช เช่น

3.2.2.1. เอพิเดอร์มิส (epidermis)

3.2.2.2. พาเรงคิมา (perenchyma)

3.2.2.3. คอลเลงคิมา (collenchyma)

3.2.2.4. สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma)

3.2.2.5. ไซเล็ม (xylem)

3.2.2.6. โฟลเอ็ม (phloem)

4. 9.2 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก

4.1. โครงสร้างภายในของรากระยะที่มีการเติบโตปฐมภูมิ

4.1.1. โครงสร้างของรากพืชใบเลี้ยงคู่และเดี่ยว มีการตัดตามขวางและเรียงตัวเนื้อเยื่อแตกต่างอย่างชัดเจน แบ่งได้ 3 ชั้น ดังนี้

4.1.1.1. 3.1 เพริไซเคิล (pericycle)

4.1.1.2. 1.เอพิเดอร์มิส (epidermis)

4.1.1.3. 2.คอร์เท็กซ์ (cortex)

4.1.1.4. 3.สตีล (stele) ประกอบด้วยชั้นต่างๆดังนี้

4.1.1.4.1. 3.2 วาสคิวลาร์บันเดิล หรือ มัดท่อลำเลียง (vascular bundle)

4.1.1.4.2. 3.3 พิธ (pith)

4.2. โครงสร้างภายในของปลายราก

4.2.1. เมื่อรากงอกออกจากเมล็ดเพิ่มขนาดและจำนวน ประกอบด้วยเนื้อเยื่อบริเวณต่างๆ เรียงลำดับจากสุดปลายสุดของรากขึ้นไป ดังนี้

4.2.1.1. 1.หมวกราก (root cap)

4.2.1.2. 2.บริเวณการแบ่งเซลล์ (region of cell division)

4.2.1.3. 3.บริเวณการยืดตามยาวของเซลล์ (region of cell elongation)

4.2.1.4. 4.บริเวณการเปลี่ยนสภาพและการเจริญเต็มที่ของเซลล์ (region of cell differentiation)

4.3. โครงสร้างภายในของรากระยะที่มีการเติบโตทุติยภูมิ

4.3.1. การเติบโตทุติยภูมิของรากพืชใบเลี้ยงคู่ทำให้รากมีขนาดใหญ่ เนื่องจากมีการสร้างเนื้อเยื่อถาวรเพิ่มจากการแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างซึ่งเป็นเนื้อเยื่อเจริญทุติยภูมิ ได้แก่ วาสคิวลาร์แคมเบียมและคอร์กแคมเบียม วาสคิวลาร์แคมเบียมเปลี่ยนสภาพมาจากเซลล์ที่อยู่ระหว่างไซเล็มปฐมภูมิและโฟลเอ็มปฐมภูมิและเซลล์ในบริเวณเพริไซเคิล

4.3.1.1. โดยวาสคิวลาร์แคมเบียมแบ่งเซลล์สร้างไซเล็มทุติยภูมิ(secondary xylem)ทางด้านใน

4.3.1.2. และสร้างโฟลเอ็มทุติยภูมิ(secondary phloem)ทางด้านนอก