หลักสูตรแกนนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

登録は簡単!. 無料です
または 登録 あなたのEメールアドレスで登録
หลักสูตรแกนนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 により Mind Map: หลักสูตรแกนนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

1. วิสัยทศน์

1.1. มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนมีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐานรวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ

2. หลักการ

2.1. 1.เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ

2.2. 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน

2.3. 3.เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ

2.4. 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่น

2.5. 5.เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

2.6. 6.เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย

3. จุดมุ่งหมาย

3.1. 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค

3.2. 2. มีความรู้ การคิด การแก้ปัญหา การใช้ เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต

3.3. 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ด

3.4. 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก

3.5. 5.มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

4. คุณลักษณะของผู้เรียน

4.1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์, ซื่อสัตย์สุจริต, มีวินัย, ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง, มุ่งในการทำงาน, รักความเป็นไทย, มีจิตสาธารณะ

5. มาตรฐานการเรียนรู้

5.1. มาตรฐานการเรียนรู้มี 8 กลุ่มสาระ

5.1.1. ภาษาไทย

5.1.2. คณิตศาสตร์

5.1.3. วิทยาศาสตร์

5.1.4. สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

5.1.5. สุขศึกษาและพละศึกษา

5.1.6. ศิลปะ

5.1.7. การงานและเทคโนโลยี

5.1.8. ภาษาต่างประเทศ

6. ตัวชี้วัด

6.1. ตัวชี้วัดชั้นปี และตัวชี้วัดช่วงชั้น

6.1.1. ตัวชี้วัดชั้นปีใช้กับ ป.1–ม.3 (เป็นเป้าหมายพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปี)

6.1.2. ตัวชี้วัดช่วงชั้นใช้กับ ม.4- ม.6 (เป็นเป้าหมายพัฒนาผู้เรียนเฉพาะในระดับ ม.ปลาย)

7. สาระการเรียนรู้

7.1. ภาษาไทย

7.1.1. ความรู้การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเห็นคุณค่าภูมิปัญญาไท และภูมิใจในภาษาประจำชาติ

7.2. คณิตศาสตร์

7.2.1. การแก้ปัญหา การดำเนินชีวิตและศึกษาต่อ การมีเหตุมีผล

7.3. วิทยาศาสตร์

7.3.1. การศึกษาค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค

7.4. ภาษาต่างประเทศ

7.4.1. การใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้และการประกออาชีพ

7.5. สุขศึกษาและพลศึกษา

7.5.1. การสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและผู้อื่น การป้องกันและปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธี

7.6. การงานอาชีพและ เทคโนโลยี

7.6.1. การจัดการ การดำรงชีวิต การประกอบ อาชีพและการใช้เทคโนโลยี

7.7. ศิลปะ

7.7.1. การคิดริเริ่ม จินตนาการ สร้างสรรค์งานศิลปะ สุนทรียภาพและการเห็นคุณค่าทางศิลปะ

8. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

8.1. กิจกรรมแนะแนว

8.1.1. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง ช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจนักเรียน

8.2. กิจกรรมนักเรียน

8.2.1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีวินัย เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี เช่น ผู้บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมชุมนุมหรืชมรม

8.3. กิจกรรมพัฒนาสังคมและสาธารณะประโยชน

8.3.1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ

9. การจัดการเรียนรู้

9.1. 1. เน้นผู้เรียนสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาเต็มตามศักยภาพ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และการพัฒนาสมอง เน้นให้ความรู้และคุณธรรม

9.2. 2. มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีการปฏิบัติลงมือทำจริงและสามารถเลือกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

9.3. 3. ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรให้เข้าใจทุกขั้นตอน แล้วพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสม

9.4. 4. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน

10. ระดับการศึกษาและการมุ่งเน้นแต่ระดับ

10.1. ประถมศึกษา (6 ปี)

10.1.1. เน้นการเรียนรู้แบบบูรณาการ ทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ การคิดพื้นฐาน การสื่อสาร

10.2. มัธยมศึกษาตอนต้น (3 ปี)

10.2.1. เน้นให้ผู้เรียนสำรวจความถนัดและความสนใจ ของตนเอง มีทักษะในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา ทักษะในการใช้เทคโนโลยี

10.3. มัธยมศึกษาตอนปลาย (3 ปี)

10.3.1. เน้นความรู้และทักษะเฉพาะด้านสนองความสามารถและความถนัดและความสนใจของผู้เรียนแต่ละคน

11. เกณฑ์การจบการศึกษา

11.1. ระดับประถมศึกษา

11.1.1. ผู้เรียนเรียนรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด มีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมินที่สถานศึกษากำหนด

11.2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

11.2.1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา เพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต (ขั้นต่ำสุดคือไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต) โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิตและ เป็นรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่สถานศึกษากำหนด (ไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต)

11.3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

11.3.1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต (ขั้นต่ำสุดคือไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต) โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิตและเป็นรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด (ขั้นต่ำสุดคือไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต)

12. เอกสารหลักฐานการจบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551

12.1. กระทรวงศึกษาธิการกำหนด

12.1.1. ปพ.1, ปพ. 2, ปพ. 3

12.2. สถานศึกษากำหนด

12.2.1. 1. แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา

12.2.2. 2. แบบรายงานประจำตัวนักเรียน

12.2.3. 3. ใบรับรองผลการศึกษา

12.2.4. 4. ระเบียบสะสม

13. สมรรถนะของผู้เรียน

13.1. ความสามารในการสื่อสาร

13.2. ความสามารในการคิด

13.3. ความสามารในการแก้ปัญหา

13.4. ความสามารในการใช้ทักษะชีวิต

13.5. ความสามารในการใช้เทคโนโลย

14. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

14.1. ภาษาไทย (มี 5 สาระ 5 มาตรฐาน)

14.2. คณิตศาสตร์ (มี 6 สาระ 14 มาตรฐาน)

14.3. วิทยาศาสตร์ (มี 8 สาระ 13 มาตรฐาน)

14.4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (มี 5 สาระ 11 มาตรฐาน)

14.5. สุขศึกษาและพลศึกษา (มี 5 สาระ 6 มาตรฐาน)

14.6. ศิลปะ (มี 3 สาระ 6 มาตรฐาน)

14.7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี (มี 4 สาระ 4 มาตรฐาน)

14.8. ภาษาต่างประเทศ (มี 4 สาระ 8 มาตรฐาน)