การเขียนฟังก์ชันและโมดูล
Pitchayapa Saingamにより

1. การเรียกใช้ฟังก์ชัน (function call)
1.1. วิธีเรียกใช้จากโปรแกรมเดียวกัน
1.2. วิธีเรียกใช้จากโปรแกรมอื่น
2. รูปแบบการสร้างฟังก์ชัน
2.1. ฟังก์ชันที่ไม่มีการส่งค่าไปและไม่คืนค่ากลับ
2.2. ฟังก์ชันที่มีการส่งค่าไปแต่ไม่คืนค่ากลับ
2.3. ฟังก์ชันที่ไม่มีการส่งค่าไปแต่คืนค่ากลับ
2.4. ฟังก์ชันที่มีทั้งการส่งค่าไปและคืนค่ากลับ
3. การสร้างฟังก์ชัน
3.1. def
3.1.1. เป็นคำสำคัญสำหรับการสร้างฟังก์ชัน
3.2. functionName
3.2.1. เป็นชื่อของฟังก์ชัน
3.3. arguments
3.3.1. ตัวแปรหรือข้อมูลที่จะรับเข้ามาเพื่อนำไปประมวลผลภายในฟังก์ชัน อาร์กิวเมนต์
3.4. function suite
3.4.1. คำสั่งหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ของฟังก์ชันที่ต้องการให้ทำงาน หรือต้องการให้ประมวลผล กับอาร์กิวเมนต์ที่ส่งเข้ามา
3.5. return [expression]
3.5.1. การส่งค่าผลลัพธ์ใด ๆ ที่เกิดจากการประมวลผลภายในฟังก์ชัน
4. ประโยชน์ของฟังก์ชัน
4.1. ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดได้ง่าย สะดวก
4.2. เขียนโปรแกรมสั้นลง
5. ความหมายของฟังก์ชัน
5.1. ฟังก์ชัน (Function) คือส่วนของโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างใดอย่างหนึ่งตามความต้องการ ในภาษา Python เราสามารถสร้างฟังก์ชันขึ้นใช้เอง เพื่อให้ทำงานตามที่ต้องการ
6. ขอบเขตของตัวแปร
6.1. ตัวแปรเฉพาะที่ (local variable)
6.1.1. ตัวแปรเฉพาะที่เป็นตัวแปรที่นิยามอยู่ในบล็อกของฟังก์ชันนับจากตำแหน่งที่เริ่มต้นนิยาม และจะถูกอ้างอิงได้ภายในบล็อกของฟังก์ชันดังกล่าวเท่านั้น ไม่สามารถอ้างอิงในบล็อกอื่นได้
6.2. ตัวแปรส่วนกลาง (global variable)
6.2.1. ตัวแปรส่วนกลางเป็นตัวแปรที่นิยามอยู่ในบล็อกของโปรแกรมหลัก และสามารถอ้างอิงได้ในบล็อกของทุกฟังก์ชัน