พันธะทางสังคมอ

登録は簡単!. 無料です
または 登録 あなたのEメールアドレスで登録
พันธะทางสังคมอ により Mind Map: พันธะทางสังคมอ

1. มีส่วนร่วมในการแก้ไข้ปัญหาโดยไม่ก่อปัญหา และลงมือแก้ไข้ปัญหาด้วยตนเอง

2. สป.4

2.1. บริบทพันธะทางสัมคมของพลเมือง

2.1.1. ระดับการศึกษา     อาชีพ  รายได้   เชื้อชาติ   ศาสนา  ความเชื่อ  เพศ   ระยะเวลาที่อาศัย    การเปลี่ยนแปลงชนชั้นทางสังคม

3. เรียน สป. 3

3.1. 3. ปัญหาของสังคม  

3.1.1. ความหมาย

3.1.1.1. สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมและไม่เป็นที่พึงปรารถนา เพราะก่อให้เกิดผลกระทบทางลบ ในด่านต่างๆ

3.1.2. ลักษณะ

3.1.2.1. สถานการณ์ที่กระทบหลายคน

3.1.2.1.1. รัฐประหาร

3.1.2.2. สถานการที่ไม่พึ่งปรารถนา

3.1.2.3. การเกิดความรู้สึกว่าควรปรับปรุง

3.1.2.4. การแสดงออกในรูปทำร่วมกัน

3.1.2.4.1. ชุนนุม

3.1.3. สาเหุต

3.1.3.1. การเปลี่ยนแปลงของสังคม

3.1.3.2. คนไม่รักษา LAW

3.1.3.3. พฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานของสังคม

3.1.3.3.1. พฤติกรรมที่แตกต่างไปจากพฤติกรรมของคนส่วนใหญ่ในสังคม

3.1.4. แนวทางการป้องกัน

3.1.4.1. กำหนดบรรทัดฐานของสังคม

3.1.4.2. ขัดเกลาสังคม

3.1.4.3. ลงโทษที่โหด

3.1.4.4. ปรับปรุงสภาพแวดล้อม

3.1.4.5. แก้ไขปัญหาสังคม

3.1.4.5.1. ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไข

3.1.5. พลเมือง

3.1.5.1. รับผิดชอบต่อสังคม และส่วนรวม

3.1.5.1.1. ตระหนักว่าตนเป็นสมาชิกคนหนึ่งของสังคมอ

3.2. 3.1  พันธะ สังคม

3.2.1. พันธะ คือ ข้อผูกมัด

3.2.2. สังคม

3.2.2.1. 1. คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันต่อเนื่องกัน

3.2.2.2. 2. วงการหรือสมาคมของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

3.2.3. ระดับของสังคม

3.2.3.1. สถาบันครอบครัว

3.2.3.1.1. ครอบครัวที่อบอุ่น

3.2.3.2. ชุนชนในท้องถิ่น

3.2.3.2.1. ภาคสังคมที่ทำงานเกี่ยวข้องกับความรู้โดยตรง

3.2.3.3. จังหวัด

3.2.3.4. ภูมิภาค

3.2.3.5. ประเทศ

3.2.3.5.1. แผนพัฒนาที่ 11

3.2.3.6. นานาชาติ

3.2.3.6.1. อาเซียน

3.2.4. ระดับของการมีส่วนร่วมในสังคม

3.2.4.1. ประชาชน แบ่งได้ 3 ระดับ

3.2.4.1.1. 1. ระดับเป็นผู้ใช้ประโยชน์ รับประโยชน์อย่างเดี่ยว

3.2.4.1.2. 2. ระดับเป็นผู้ให้ความร่วมมือ การคอยให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐ โดยรัฐจะขอมา

3.2.4.1.3. 3.ระดับผู้ตัดสินใจ ประชาชนจะเป็นผู้ตัดสินใจจะดำเนินการในเรื่องต่างๆ ทำทุกอย่างเองหมด

4. สป.  2

4.1. 2.หน้าที่พลเมืองและวัฒธรรมไทย    เรียน สป. 2

4.1.1. พลเมืองดีตามวิถีตามประชาธิปไตย

4.1.1.1. หน้าที่ของพลเมืองดี

4.1.1.1.1. หน้าที่ คือ สิ่งที่กำหนดให้ทำ or ห้ามมิให้กะทำ

4.1.1.1.2. พลเมืองดีคือ ผู้ที่ทำหน้าที่พลเมืองได้คบหมด

4.1.1.1.3. การปฎิบัติตนตามหลักธรรม

4.1.1.1.4. การปฎิบัติตนตามวัฒธรรมไทย

4.1.1.2. พลเมือง

4.1.1.2.1. หมายถึงพละกำลังของประเทศ ต่างจากชาวต่างด้าวเข้าเมือง and ฝรั่งที่เข้า

4.1.2. สถานภาพ  บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และการปฎิบัติตนตามรัฐธรรมนูญ

4.1.2.1. บทบาท

4.1.2.1.1. หน้าที่อันเนื่องมาจากสถานภาพของบุคคล

4.1.2.2. สิทธิ

4.1.2.2.1. อำนาจที่กฎหมายรองรับ

4.1.2.3. เสรีภาพ

4.1.2.3.1. การกระทำที่ยุใน law

4.1.2.4. หน้าที่

4.1.2.4.1. ภาระที่ต้องทำ

4.1.2.5. สถานภาพ

4.1.2.5.1. ตำแหน่งที่บุคคลได้รับ

5. มนุษย์ จัดเป็นทรัพยากรที่มีค่ามาที่สุดในสังคมและเป็นหน่วยย่อยของสังคม

6. สป.1

7. สป.5

7.1. ความสำนึกในหน้าที่

7.1.1. ขั้นตอน

7.1.1.1. 1. เป็นระดับขั้นสร้างความสนใจ

7.1.1.2. 2. เป็นระดับขั้นของการตอบสนอง

7.1.1.3. 3.  เป็นขั้นของการสร้างค่านิยม ทัศนคติที่ดีต่อการตอบสนองทำให้เกิดความสำนึกในคุณค่า

7.1.1.4. 4.  เป็นขั้นตอนของการจัดระบบคุณค่า

7.1.1.5. 5.  เป็นขั้นของการสร้างนิสัย โดยสร้างจากระบบของคุณค่าที่จัดไว้ และดำเนินรอยตาม

7.1.2. การแสดงความสำนึกในหน้าที่พลเมือง

7.1.2.1. การแสดงออกโดยลำพัง

7.1.2.2. การรวมกลุ่ม

7.1.2.3. การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรง

7.2. พลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย

7.2.1. ควาหมาย

7.2.1.1. การรับฟังความคิดเห็น

7.2.1.2. พลเมือง

7.2.1.2.1. ชาวเมือง ประชาชน

7.2.1.3. วิถี

7.2.1.3.1. สาย  แนว  ทาง ถนน

7.2.1.4. ประชาธิปไตย

7.2.1.4.1. ระบอบการปกครองที่ถือเสียงส่วนใหญ่

7.2.2. แนวทางการปฏิบัติตนพลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย

7.2.2.1. ด้านสังคม

7.2.2.1.1. การแสดงความเห็นเห็นอย่างมีเหตุผล

7.2.2.1.2. การยอมรับเสียงข้างมาก

7.2.2.1.3. เหตุผลมากกว่าอารม

7.2.2.2. ด้านเศรษฐกิจ

7.2.2.2.1. ประหยัด

7.2.2.2.2. ซื่อสัตย์

7.2.2.2.3. ใช้เวลาให้เกิดประโยด

7.2.2.3. ด้านการเมืองการปกครอง

7.2.2.3.1. เคารพ LAW

7.2.2.3.2. ยอมรับในเหตุผลที่ดี

7.2.2.3.3. รับฟังความคิดเห็น

7.2.3. หลักการทางประชาธิปไตย

7.2.3.1. 1. หลักอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน

7.2.3.2. 2. หลักความเสมอภาค หมายถึงความเท่าเทียมกันสังคมประชาธิปไตย ถือว่าทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกัน

7.2.3.3. 3.หลักนิติธรรม คือ ใช้กฎหมายเพื่อยุร่วมกัน

7.2.3.4. 4. หลักเหตุผล หมายถึง การใช้เหตุผลในการตัดสินใจ

7.2.3.5. 5.  หลักการถือเสียงข้างมาก

7.2.3.6. 6.  หลักประนีประนอมผ่อนหนัก ผ่อนเบาให้กัน

7.2.4. จริยธรรมของการเป็นพลเมืองดี

7.2.4.1. คุณธรรม จริยธรรม หมายถึงความดีงามหรือกริยาที่ควรทำ

7.2.4.1.1. 1. ความจงรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

7.2.4.1.2. 2.  ความมีระเบียบวินัย

7.2.4.1.3. 3.  ความกล้าหาญทางจริยธรรม

7.2.4.1.4. 4.  ความรับผิดชอบ

7.2.4.1.5. 5.  การเสียสละ

7.2.4.1.6. 6. การตรงต่อเวลา

7.2.5. การส่งเสริมให้ผู้อื่นทำตัวเป็นคนดี

7.2.5.1. 1.  การยึดมั่นในคุณธรรม

7.2.5.2. 2.  เผยแพร่ อบรม สั่งสอน

7.2.5.3. 3.  สนับสนุนให้ชุนชนปฏิบัติตนให้ถูก LAW

7.2.5.4. 4.  ชักชวน

7.2.5.5. 5.  เป็นหูเป็นตาให้รัฐ

7.2.5.5.1. ให้คนทำดีเยอะๆ

8. สป. 7

8.1. จิตสาธารณะ

8.1.1. ความหมาย

8.1.1.1. จิตของคนที่รู้จักเสียสละ  ทำประโชยน์เพื่อส่วนร่วม

8.1.1.2. เพื่อเป็นหลักในการดำเนินชีวิต ช่วยแก้ปัญหาให้กับสังคม

8.1.1.3. ช่วยกันรักษา NY

8.1.2. การสร้างจิตสาธารณะในสังคมไทย

8.1.2.1. ปลูกฝังความสำนึก

8.1.2.1.1. ปลูฏฝังตั้งแต่เด็ก

8.1.2.2. ผู้คนได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อ สาธา มากกว่าตน

8.1.2.3. ให้มากกว่ารับ

9. สป. 9-11

9.1. รูปแบบการพัฒนาและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมอย่างสันติ

9.1.1. การมีส่วนร่วม

9.1.1.1. ความหมาย

9.1.1.1.1. กระบวนการในมีคนมาเสือก ร่วมคิด ร่วมติดสินใจ

9.1.1.2. แนวคิดและทฤษฎี

9.1.1.2.1. 1. ความต้องการทางด้านสรีระวิทยา

9.1.1.2.2. 2.  ความต้องการความมั่นคงปลอดภัยของชีวิต

9.1.1.2.3. 3.  ความต้องการทางด้านสังคม

9.1.1.2.4. 4.  ความต้องการที่จะมีเกียรติยสชื่อเสียง

9.1.1.2.5. 5.  ความต้องการสำเร็จแห่งตน

9.1.1.3. ลักษณะการบริหารอย่างมีส่วนร่วม

9.1.1.3.1. 1.  ให้ทุกคนได้ตัดสินใจร่วมกัน

9.1.1.3.2. 2.  ทุกคนมั่นในการทำงาน

9.1.1.3.3. 3.  ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ในการบริหาร

9.1.1.3.4. 5.  ต้องการให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วมเกี่ยวข้องอย่างแท้จริงในกระบวนการตัดสินใจ

9.1.1.3.5. 4.  การแบ่งอำนาจหน้าที่ต่างๆ เช่น รองหัวหน้า เลขา

9.1.1.4. รูปแบบของการมีส่วนร่วม

9.1.1.4.1. 1.  การรับรู้ข่าวสาร

9.1.1.4.2. 2.  การปรึกษาหารือ

9.1.1.4.3. 3.  การประชุมรับฟังความคิดเห็น

9.1.1.4.4. 4.  การร่วมในการตัดสินใจ

9.1.1.5. ขั้นตอนการมีส่วนร่วม

9.1.1.5.1. 1.  มีส่วนร่วม ในการคิด ศึกาา และค้นคว้า หาปัญหาต่างๆ

9.1.1.5.2. 2.  วางนโยบาย หรือ แผนงาน เพื่อลดและแก้ไข้ปัญหา

9.1.1.5.3. 3.  มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

9.1.1.5.4. 4.  ควบคุม ติดตาม ประเมินผล

9.1.1.6. ประโชน์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม

9.1.1.6.1. 1. มีความคิดที่มากมาย เพราะ เปิดโอกาสให้ระดมความคิด

9.1.1.6.2. 2.  การมีส่วนรวมในการบริหารมีผลในเชิงจิตวิทยา คือทำให้ต่อต้านลดน้อยลง และเกิดการยอมรับ

9.1.1.6.3. 3.  แลกเปลี่ยนข้อมูลและ EXP ในการทำงานร่วมกัน ตลอดจนสร้างความสัมพัน ที่ดี

9.1.1.6.4. 4.  ได้ใช้ความสามารถ และทักษะ เกิดความมีน้ำใจ

9.1.1.6.5. 5.  งานดี  การตัดสินใจมีคุณภาพ

9.1.1.7. บรรยากาศในการทำงานแบบมีส่วนร่วม

9.1.1.7.1. ความเชื่อ และความไว้วางใจของหัวหน้า

9.1.1.7.2. จัดให้มีการสือสารแบบเปิด มีการแลกเปลี่ยน EXP

9.1.1.7.3. แก้ปัญหา ตัดสินใจกลุ่ม

9.1.1.7.4. มีความ FREE ในการทำงาน

9.1.1.7.5. หัว. เป็นกันเอง รับฟังความคิดเห็น

9.1.1.7.6. การยอมรับซึ่งกันและกัน