1. Nephrotic syndrome
1.1. สาเหตุ
1.1.1. 1. เกิดความผิดปกติที่ไต
1.1.1.1. 1.1 Idiopathic NS เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในเด็ก glomerulonephritis
1.1.1.2. 1.2 Congenital nephrosis / Congenital NS
1.1.1.3. 1.3 Acute post infection glomerulonephritis, chronic glomerulonephritis
1.1.2. 2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ
1.1.2.1. 2.1 โรคติดเชื้อ
1.1.2.2. 2.2 สารพิษ
1.1.2.3. 2.3 ภูมิแพ้
1.1.2.4. 2.4 โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด การอุดตันของหลอดเลือดของไต (Renal vein thrombosis) หัวใจวาย (Congestive heart failure)
1.1.2.5. 2.5 เนื้องอกชนิดร้าย (Malignancies)
1.1.2.6. 2.6 โรคอื่น ๆ เช่น Collagen disease : SLE,
1.2. พยาธิสรีรวิทยา
1.2.1. เป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีความผิดปกติที่ Glomerular basement membrane โดยมีการเพิ่ม permeability ทำให้โปรตีนที่มีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมามากขึ้นส่วนใหญ่จะเป็น อัลบูมิน และอิมมูโนโกลบูลิน (Ig) และจะทำให้เกิดอาการต่างๆ ตามมา
1.3. อาการทางคลินิค
1.3.1. เด็กจะมีนํ้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
1.3.2. ปัสสาวะจะน้อยลงและสีเข้ม
1.3.3. มีอาการบวม
1.3.4. เบื่ออาหาร
1.3.5. แน่นท้อง
1.3.6. กระสับกระส่าย
1.3.7. หายใจลำบาก
1.4. อาการติดเชื้ออาจพบอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ไข้
1.5. ภาวะแทรกซ้อน
1.5.1. 1. เกิดการติดเชื้อ
1.5.2. 2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง (Circulatory insufficiency)
1.5.3. 3. การอุดตันของหลอดเลือด (Thromboembolism)
1.6. หลักการพยาบาล
1.6.1. 1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ
1.6.2. 2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง
1.6.3. 3. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม
1.6.4. 4. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia
1.6.5. 5. ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทำงานของหัวใจ และลดอาการ Dyspnea ที่อาจมี
1.6.6. 6. เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกาย
1.6.7. 7. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
1.6.8. 8. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน
2. Acute glomerulonephritis
2.1. สาเหตุ
2.1.1. เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้อของร่างกายที่พบบ่อย
2.1.1.1. 1. Pharyngitis จาก - Streptococcus gr. A.
2.1.1.2. 2.การติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆในเด็กจะพบได้บ่อยคือ Acute post-streptococoal glomerulonephritis
2.2. อาการทางคลินิค
2.2.1. ภายหลังการติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน เด็กจะเริ่มมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวมขาและท้อง ชนิดกดไม่บุ๋ม)
2.2.2. ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม
2.2.3. เด็กจะมีอาการซีด
2.2.4. กระสับกระส่าย
2.2.5. อ่อนเพลียมาก
2.2.6. เด็กโตอาจบอกได้ว่ามีอาการปวดศีรษะ แน่นอึดอัดท้องและถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก (Dysuria) ไม่ค่อยพบอาการอาเจียน ความดันโลหิตสูงเล็กน้อยถึงสูงมาก (120/80 - 180/120 mmHg)
2.3. ภาวะแทรกซ้อน
2.3.1. 1. Hypertensive encephalopathy
2.3.2. 2. Acute cardiac decompensation
2.3.3. 3. Acute renal failure
2.4. หลักการพยาบาล
2.4.1. 1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ บ้าน
2.4.2. 2. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม
2.4.3. 3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia)
2.4.4. 4. ลดความดันโลหิต
2.4.5. 5. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน
2.4.6. 6.เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตให้แก่เด็ก
2.4.7. 7. อำ นวยความสุขสบายของร่างกาย
2.4.8. 8. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
2.4.9. 9.เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองที่บ้าน
3. Urinary tract infection
3.1. สาเหตุ
3.1.1. เกิดจากเชื้อ E. coli (อี. โคไล) และแบคทีเรียอื่น ๆ ที่พบได้ปกติในบริเวณทางเดินอาหาร
3.2. อาการทางคลินิค
3.2.1. เด็กเล็กอายุตํ่ากว่า 2 ปี อาการไม่แน่นอนเช่น อาจมีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต
3.2.2. เด็กอายุ 2-14 ปี อาจจะพบอาการไข้ ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด
3.3. ภาวะแทรกซ้อน
3.3.1. 1. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย
3.3.2. 2. ความดันโลหิตสูง
3.3.3. 3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
3.4. หลักการรักษา
3.4.1. 1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ ซ้ำ
3.4.2. 2. ป้องกันเนื้อไตถูกทำ ลาย และป้องกันไตวาย
3.4.3. 3.ค้นหาความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
3.4.4. 4. ให้นํ้าปริมาณมาก ให้นํ้าโดยการดื่ม และ/หรือทางหลอดเลือดดำ
3.4.5. 5. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ
3.4.6. 6. ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
3.5. หลักการพยาบาล
3.5.1. 1. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
3.5.2. 2. สังเกตภาวะแทรกซ้อน
3.5.3. 3. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
3.5.4. 4. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย
3.5.5. 5. สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา
4. Phimosis in children
4.1. อาการผิดปกติ
4.1.1. 1. มีอาการปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ
4.1.2. 2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning)ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ
4.1.3. 3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสารคัดหลั่งสีเหลืองคล้ายหนองไหลออกมาร่วมด้วย (balanoposthitis)
4.1.4. 4.ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก หรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง (true phimosis)
4.1.5. 5. มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน(urinary tract infection , UTI)
4.1.6. 6.มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (retained smegma)
4.1.7. 7.หังหุ้มปลายติดหัวอวัยวะเพศ
4.1.8. 8. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้ (paraphimosis
4.2. การรักษาหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด
4.2.1. 1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง
4.2.1.1. ใช้ครีม steroid ที่มีความเข้มข้นไม่มากเกินไป ทาบริเวณหนังหุ้มปลายให้หนังหุ้มปลายมีความยืดหยุ่นดีขึ้น
4.2.1.2. พ่อแม่ช่วยรูดหนังหุ้มปลายลงมาแล้วรูดกลับ ทำทีละน้อย ขณะอาบน้ำหรือขณะนอนหลับจะช่วยให้หนังหุ้มปลายเปิดได้
4.2.1.3. ยาที่ใช้ได้แก่ betamethasone 0.05% ทาวันละ 2-3 ครั้งบริเวณปลายสุดของหนังหุ้มปลาย เด็กกว่าร้อยละ 90 หนังหุ้มปลายจะเปิดได้ แต่หากใช้เวลากว่า 3 เดือนไม่เห็นผลก็ควรเปลี่ยนวิธีการรักษา
4.2.2. 2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ( circumcision )
4.3. ข้อบ่งชี้ในการขลิบหนังหุ้มปลาย
4.3.1. 1. หนังหุ้มปลายไม่เปิดที่มีลักษณะของพังผืดบริเวณปลายชัดเจน ( True phimosis ) จนทำให้ปัสสาวะลำบาก มีอาการปวดเมื่ออวัยวะเพศแข็งตัว
4.3.2. 2. มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศเป็นๆหายๆ (recurrent balanoposthitis )
4.3.3. 3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นๆหายๆ ที่ไม่สามารถหาสาเหตุอื่นได้ (recurrent urinary tract infection )
4.3.4. 4.ในหลายกลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติในกลุ่มชาวยิว ชาวมุสลิมและชาวคริสต์บางนิกายนิยมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เพื่อทำให้การดูแลทำความสะอาดง่ายขึ้น
4.4. ข้อห้ามการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
4.4.1. 1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ
4.4.1.1. micropenis
4.4.1.2. buried penis
4.4.1.3. urethral hypoplasia
4.4.1.4. hypospadias
4.4.1.5. epispadias
4.4.1.6. bilateral cryptorchism
4.4.2. 2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง , มีการเจ็บป่วยที่ต้องดูแลใกล้ชิด , มีความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด , ผู้ปกครองไม่ยินยอม
4.5. ภาวะแทรกซ้อนของการขลิบปลายอวัยวะเพศ
4.5.1. การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด
4.5.2. มีการอักเสบและการติดเชื้อ