1. ความหมาย:การทบทวนวรรณกรรม
1.1. Zikmund, Babin, Carr ,& Griffin (2010)
1.1.1. หมายถึง การค้นหาโดยตรงจากงานที่ได้รับการตีพิมพ์ รวมถึงวารสารที่ตีพิมพ์ตามเวลาที่กำหนดและหนังสือที่มีการกล่าวถึงทฤษฎี
1.2. Hart ( อ้างถึง Levy& Ellis,2006 )
1.2.1. หมายถึง การใช้ความคิดที่ปรากฏอยู่ในวรรณกรรม
1.3. หมายถึง เป็นการศึกษาเอกสาร ตำรา รายงายการวิจัย เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี วิธีการวิจัยและปัญหาวิจัยในประเด็นปัญหาที่ผู้วิจัยจะศึกษา
2. หัวข้อการทบทวนวรรณกรรม
2.1. -ที่มาของปัญหา -คำถามและวัตถุประสงค์ของการวิจัย -วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มตัวอย่าง/วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง -การออกแบบการวิจัย -เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล -วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล -ข้อค้นพบจากการวิจัย
3. การโจรกรรมทางวิชาการ
3.1. รูปแบบ Plagiarism
3.1.1. 1.Copy and Paste Plagiarism(การคัดลอก-แปะ) 2.Word Switch Plagiarism (การเปลี่ยนคำ) 3.Metaphor Plagiarism (การอุปมา) 4.Style Plagiarism(สำนวน) 5.Idea Plagiarism (ความคิด) 6.การกระทำอื่นๆที่ถือเป็น Plagiarism 7.การส่งผลงานที่ทำร่วมกับผู้อื่นไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เขียนร่วม
4. New Topic
5. ความหมาย:วรรณกรรม
5.1. หมายถึง เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง แนวคิด/ทฤษฎี และ ผลงานวิจัยที่มีเนื้อหาสัมพันธ์กับเรื้องที่ทำการศึกษาวิจัย
6. ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม (Kumar,1999:26-27)
6.1. ทำให้ปัญหาการวิจัยมีความชัดเจน และมีจุดเน้น
7. ความสำคัญ
7.1. 1. หาความจริง (To Locate Facts) 2. เพื่อให้เลือกสรรปัญหาได้ถูกต้อง (To Select a Problem) 3. ช่วยในการนิยามปัญหา ( To Define a Problem) 4. เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำซ้อน (To Avoid Duplication) 5. เพื่อหาเทคนิคในการทำวิจัย(To Find Techniques) 6. ช่วยในการแปลความหมายของข้อมูล (To Interpret Results ) 7. เพื่อเตรียมการเขียนรายงาน (To Prepare Report)
8. ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม
8.1. 1. การค้นหาวรรณกรรม
8.1.1. หลักในการค้นหาวรรณกรรม
8.1.1.1. -เอกสารและงานวิจัยนั้นๆมีความเกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยของเราอย่างไร -ควรมีเหตุผลในการนำเสนอเอกสารฯ -มีเนื้อหาตรงกับผู้วิจัยต้องการ -ใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย สมเหตุสมผล ไม่ลำเอียง -ควรเลือกหนังสือหรือเอกสารที่พิมพ์จากสำนักพิมพ์ที่เชื่อถือได้
8.1.2. แหล่งข้อมูลเพื่อทบทวนวรรณกรรม
8.1.2.1. -หนังสือ -ดรรชนีวารสาร -พจนานุกรม -สารานุกรม -บทคัดย่อ -วารสาร -หนังสือรายปี -วิทยานิพนธ์ -รายงานวิจัย -หนังสืออ้างอิงอื่นๆ
8.1.3. ที่มาของแหล่งข้อมูล
8.1.3.1. 1.ข้อมูลที่เป็นเอกสาร 2.ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เช่น บทความวิชาการ เอกสารในการประชุมวิชาการ 3.ข้อมูล online -Emerald -Science Direct -Education Research -IEEE Xplore -MEDLINE -CINAHL -TDC-thaills -Pubmed -อื่นๆ
8.1.4. ระดับความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มา
8.1.4.1. ความน่าเชื่อถือของประเภทวรรณกรรมปฐมภูมิมากกว่าทุติยภูมิ
8.2. 2.สรุปย่อข้อมูลวรรณกรรม
8.2.1. การอ่านและวิเคราะห์งานวิจัย
8.2.1.1. หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัย ตลอดจนด การนิยามตัวแปรเชิงปฏิบัติการ
8.2.2. วิธีการบันทึกเนื้อหาที่สำคัญ
8.2.2.1. -บันทึกลงบัตรบันทึก -ทำตารางสรุป -ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการจัดการทางบรรณานุกรม
8.3. 3.เรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรม
8.3.1. หลักการเรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรม
8.3.1.1. เรียบเรียงโดยใช้ภาษาซึ่งเป็นของผู้วิจัยเอง
8.3.2. สิ่งที่ไม่ควรทำในการเรียบเรียงวรรณกรรม
8.3.2.1. -ไม่ใช่การรวบรวมทุกสิ่งทุกอย่างที่ค้นหาได้มาเขียน -ไม่นำสิ่งที่ค้นคว้ามาได้เขียนเรียงต่อกันไป แต่เป็นการนำมาจัดระบบใหม่ -กระทำโดยสุจริต