Chemical Equilibrium

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Chemical Equilibrium by Mind Map: Chemical  Equilibrium

1. อุปกรณ์และสารเคมี

1.1. หลอดทดลองขนาด10และ20ซม.

1.2. ขวดรูปชมพู่ขนาด150 ซม.

1.3. บีกเกอร์ขนาด50 ซม.

1.4. กระบอกตวงขนาด10 ซม.

1.5. เทอร์โมมิเตอร์

1.6. กระดาษกรอง

1.7. โคบอลต์ไดคลอไรด์ เฮกซะไฮเดรต

1.8. โคบอลต์ไนเตรท เฮกซะไฮเดรต

1.9. สารละลาย 0.4M โคบอลต์คลอไรด์

1.10. สารละลาย 0.4M โคบอลต์ไนเตรท

1.11. สารละลาย 0.4M โคบอลต์ไนเตรทในเอทานอล

1.12. เอทานอล

1.13. อะซิโทน

1.14. กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น

2. วิธีการทดลอง

2.1. ตอนที่1 สถานะสมดุล

2.1.1. 1. บันทึกสีของสารที่อยู่ในรูปของแข็ง

2.1.2. 2. นำหลอดทดลองมา4 หลอดใส่ โคบอลต์ไดคลอไรด์ เฮกซะไฮเดรต 2หลอด และใส่โคบอลต์ไนเตรท เฮกซะไฮเดรต 2หลอดแล้วเติมน้ำกลั่นหลอดละ 1 ซม. เขย่าแล้วบันทึกสีของสารละลาย

2.2. ตอนที่2 ผลของความเข้มข้นต่อสถานะสมดุล

2.2.1. 1. นำสารละลายโคบอลต์ไนเตรทในน้ำมา2.5 ซม.ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด150ซม. เติมไฮโดรคลอริกเข้มข้น 20 หยด เขย่า นำไปใช้ทดลองต่อในข้อ2

2.2.2. 2. นำสารจากข้อ1 เติมน้ำกลั่นครั้งละ 2ซม. 3 ครั้งบันทึกสีของสารละลายหลังจากเติมน้ำกลั่น

2.2.3. 3. ทำเช่นเดียวกับข้อ1และข้อ2 โดยใช้ 0.4 M โคบอลต์ไนเตรทในเอทานอล2.5 ซม. แทนแต่เติม ไฮโดรคลอริกลงไปครั้งละ0.1ซม.

2.2.4. 4. เปรียบเทียบปริมาณของคลอไรด์ที่ต้องการใช้ในการทำให้สารละลายเกิดสีน้ำเงินในสารที่มีแอลกอฮอลล์เป็นตัวทำละลายกับสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย

2.3. ตอนที่3 ผลของอุณหภูมิต่อภาวะสมดุล

2.3.1. 1. นำสารละลาย 0.4 M โคบอลต์คลอไรด์มา 2.5 ซม.ใส่ในขวดรูปชมพู่เติมกรด ไฮโดรคลอริก 30 หยด เขย่า สารละลายที่ได้จะมีสีม่วง

2.3.2. 2. แบ่งสารสีม่วงใส่ในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอดละเท่าๆกัน หลอดที่1 แช่ในน้ำแข็ง หลอดที่2 แช่ในน้ำร้อน หลอดที่3 วางไว้ที่อุณหภูมิห้อง

3. วัตถุประสงค์

3.1. 1.เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปของสถานะสมดุล

3.2. 2.เพื่อศึกษาผลความเข้มข้นและอุณหภูมิต่อสถานะสมดุล

4. เนื้อหา

4.1. การเปลี่ยนแปลงทางเคมีส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นอย่างไม่สมบูรณ์ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงที่ย้อนกลับได้ ในขณะที่เกิดอัตราไปข้างหน้าจะลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลง และอัตราการเกิดปฎิกิริยาย้อนกลับจะสูงขึ้น เมื่ออัตราการเกิดปฎิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเกิดปฎิกิริยาย้อนกลับ จะเกิดสถานะสมดุล ซึ่งที่สถานะสมุลนี้คุณสบบัติทางกายภาพของระบบจะคงที่ แต่ละบบไม่หยุดนิ่ง

4.2. ระบบคงที่ แต่ระบบไม่หยุดนิ่ง ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เรียกว่า สมดุลไดนามิก