บทนำสู่พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทนำสู่พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม by Mind Map: บทนำสู่พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม

1. สารพิษ(Toxic substance)

1.1. สารที่เข้าสู่ร่างกายแล้วก่อผลร้าย หรืออันตรายต่อสมช.เนื่องจากการทำปฎิกิริยาทางเคมีฟิสิกส์(physical-chemical inter action)

2. สารมลพิษ(Pollutant)

2.1. มีความหมายกว้างกว่าสารพิษ ซึ่งครอบคลุมถึงสารพิษที่ปนเปื้อนอยู่ในสวล.

2.2. คุณสมบัติ

2.2.1. กระจายตัวได้

2.2.1.1. ขึ้นกับค่าคงตัวHenry(H)

2.2.1.2. การละลายน้ำ(S)

2.2.1.3. ค่าสัมประสิทธิ์การถูกดูดซับโดยดิน(Kco)

2.2.1.3.1. กระบวนการดูดซับ ในดินตะกอนและสารที่เป็นอนุภาคในน้ำ โดยสมการ Freundlich adsorption isotherm

2.2.1.4. ค่าสัมประสิทธิ์การแบ่งส่วนระหว่าง เอ็นออกทานอลกับน้ำ(Kow)

2.2.2. มีความคงตัวและทนต่อสภาพแวดล้อม ไม่กลายสภาพเป็นรูปแบบอื่น

2.2.3. ไวต่อปฎิกิริยา

2.2.4. ถูกสะสมได้ (bioaccumulation)

2.2.4.1. S = KocC

2.2.4.1.1. Koc คือ ค่าสปส.การดูดซับของสารคาร์บอนอินทรีย์

2.2.5. เพิ่มความเข้นขึ้นในระบบวัฏจักร(Bioconcentration)

2.2.5.1. ค่าความเข้มข้น ของสารมลพิษต่ำ ค่า adsorption isothermต่อดินและตะกอนจะไม่เสถียร

2.2.5.1.1. S = KpC

3. พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

3.1. ของเสีย

3.1.1. น้ำเสีย

3.1.1.1. ของเสียในสภาพของเหลว รวมทั้งมลสารที่ปะปนในของเหลวนั้น

3.1.2. ขยะมูลฝอย สิ่งปฎิกูล น้ำเสีย อากาศเสีย มลสาร หรือวัตถุอันตรายซึ่งถูกปล่อยทิ้งหรือมีที่มาจากแหล่งกำเนิดมลพิษ ที่อยู่ในสภาพของแข็ง ของเหลว ก๊าซ

3.1.3. อากาศเสีย

3.1.3.1. ของเสียที่อยู่ในสภาพเป็นไอเสีย กลิ่นควัน ก๊าซ เข่า ฝุ่นละออง เถ้าถ่าน มลสารที่อยู่ในบรรยากาศได้

3.2. วัตถุอันตราย

3.2.1. ระเบิดได้

3.2.2. ไวไฟ

3.2.3. วัตถุออกซิไดส์และเปอร์ออกไซด์

3.2.4. มีพิษ

3.2.5. ก่อโรค

3.2.6. รังสี

3.2.7. mutant

3.2.8. กัดกร่อน

3.2.9. ระคายเคือง

3.2.10. วัตถุอื่นที่เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์หรือสิ่งแวดล้อม

3.3. เหตุรำคาญ

3.3.1. เหตุรำคาญตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

3.4. มลพิษ

3.4.1. ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่นๆ รวมทั้งกากตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากจสิ่งเหล่านั้น

3.5. แหล่งกำเนิดมลพิษ

3.5.1. ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคาร หรือสิ่งก่อสร้างอื่นใด ซึ่งเป็นแหล่งที่มามลพิษ

3.6. ภาวะมลพิษ

3.6.1. สภาวะที่สิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงหรือปนเปื้อนโดยมลพิษ ทำให้สวล.โทรมลง

4. สารเคมี

4.1. ตะกั่ว

4.1.1. ลำห้วยคลิตี้ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี เกิดการรั่วไหลของหางแร่จากบ่อกักเก็บตะกอนหางแร่ จากโรงแต่งแร่

4.2. โปแตสเซียมคลอเรต

4.2.1. เกิดจากการผสมสารโปแตลเซียมคลอเรต กับกำมะถันเพื่อทำปุ๋ยในการเร่งผลลำไยให้กับเกษตรกร

4.2.2. เกิดเหตุระเบิดที่โรงงานหงไทยเกษตรพัฒนา(อบลำไยแห้ง) อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่

4.2.3. ขณะทำการผสมกันเกิดการเสียดสีกันจนเกิดความร้อนและประกายไฟสาเหตุการระเบิด

4.3. โคบอลต์

4.3.1. มีผู้ขโมยวัสดุห่อหุ้มสารกัมมันตรังสี โคบอลต์-60 มาขายเป็นเศษเหล็กที่ร้านรับซื้อของเก่า โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

4.4. แคดเมียม

4.4.1. พบในดินและข้าว อ.แม่สอด จ.ตาก ก่อโรคอิไตอิไต

4.5. ลักษณะของสารเคมีและสารมลพิษ(Physical Form)

4.5.1. ของแช็ง(Solid)

4.5.1.1. เข้าสู่ร่างกายไม่ได้ แต่ก่อให้เกิดการระคายเคืองได้จากการสัมผัสที่ผิวหนัง บดหรือแตกสลายเกิดผงฝุ่น

4.5.2. ของเหลว(liquid)

4.5.2.1. สามารถเคลื่อนที่และเปลี่ยนสภาพไปเป็นละออง และเป็นไอได้ ก่ออันตรายและเกิดพิษมากกว่าของแข็ง

4.5.3. แก็ส(Gas)

4.5.3.1. สารเคมีสภาพเป็นแก๊ส ก่ออันตรายได้อย่างมาก เนื่องจากดูดซึมเข้าร่างกายได้โดยการหายใจและผ่านเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลิอดกระจายสู่อวัยวะอื่นได้โดยตรง

4.5.4. ไอระเหย (Vapour)

4.5.4.1. เกิดจากสารในรูปของแข็ง หรือเหลวกลายเป็นแก๊ส

4.5.5. ละออง (Aerosol)

4.5.5.1. สภาพของเหลวเป็นหยดเล็กๆ หรือของแข็งขนาดเล็กประมาณ 0.001-100ไมครอน

4.5.6. ควัน (Fumes)

4.5.6.1. อนุภาคของแข็งซึ่งเกิดจากการกลั่นตัวจากภาวะที่เป็นแก๊สหรือไอระเหย ขนาดเล็กกว่า 1 ไมครอน เข้าถุงลมปอดและกลับออกมาพร้อมหายใจออกได้

4.5.7. ควันไฟ (smoke)

4.5.7.1. เกิดจากการเผาไหม้ ประกอบด้วยเขม่า ของเหลวหยดเล็กๆและเถ้า

4.6. การเข้าสู่ร่างกายจะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ

4.6.1. การละลายน้ำ (water solubility)

4.6.2. ความดันไอน้ำ(vapour pressure)

4.6.3. ค่าสัมประสิทธิ์การแบ่งส่วรระหว่างเอ็นออกทานอลกับน้ำ Kow

5. การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และกฏหมาย มักตรวจวิเคราะห์สารเคมีที่ตกค้างในเนื้อเยื่อ และของเหลวต่างๆ เพื่อใช้ในศาล

6. ปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลกเกิดจาก

6.1. ประชากรเพิ่ม

6.2. ระบบนิเวศลดลง

6.3. บรรยากาศโลกเปลี่ยนแปลง

6.4. ความหลากหลายทางชีวภาพเสียหาย

7. ศาสตร์ที่ศึกษาผลของสารพิษต่อสิ่งแวดล้อมที่สารพิษนั้นอยู่

7.1. ครอบคลุมถึงผลสารเคมี ต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของสิ่งมีชีวิต

7.2. ศึกษาถึง

7.2.1. สาเหตุ

7.2.2. ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

7.2.3. หลักในการควบคุม

7.2.4. การศึกษาสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทำงาน

8. พิษวิทยาระบบนิเวศ (Ecotoxicology)

8.1. การศึกษาผลกระทบของการรับสัมผัสสารเคมีต่างๆในสวล.ต่อสมช.

8.2. ตระหนักถึงการเกิดพิษ จากธรรมชาติ มลสารสังเคราะห์ ศึกษาถึงผลกระทบของสารเคมีจากมนุษย์ต่อระบบนิเวศ

9. พิษวิทยาทางเศรษฐศาสตร์ (Economic toxicology)

9.1. ศึกษาสารเคมีที่ใช้ในวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาด้านเศรษฐกิจ เช่น สารถนอมอาหาร สารฆ่าแมลง

10. พิษวิทยาเพื่อการชันสูตร (Forensic toxicology)

11. Rachael Carson

11.1. กล่าวถึงผลกระทบของสารกำจัดแมลงที่มีต่อสิ่งแวดล้อม และเตือนอันตรายของสารประกอบ Chlorinated hydrocarbon โดยเฉพาะ DDT

12. Paracelus

12.1. บิดาแห่งพิษวิทยา

12.1.1. ทุกสิ่งในโลกนี้ล้วนเป็นพิษ ไม่มีสิ่งใดที่ไม่เป็นพิษ ขนาดการรับสัมผัสที่เป็นตัวกำหนดระดับความเป็นพิษของทุกสิ่ง

12.1.1.1. นิยามนี้ใช้เป็นพื้นฐานของวิชาพิษวิทยา

12.1.2. ผู้ศึกษาโรคระบบทางเดินหายใจในเหมืองถ่านหินและคนงานหลอมโลหะ