การหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
by pimrawee intakhan
1. ตัวอย่างที่ 3 กำหนดให้ f = {(x, y) R R | y = 2x + 1} วิธีทำ จากเงื่อนไขที่กำหนดให้ ต้องทำให้อยู่ในรูป x = เทอมของ yจาก y = 2x + 1 2x = y – 1 x =2 y - 1
2. การหาเรนจ์มีหลักการเช่นเดียวกับการหาโดเมน ต่างกันที่ว่าแทนที่เราจะหาค่า x ก็เปลี่ยนมา เป็นค่า y และพิจารณาว่า y มีค่าเป็นอะไรได้บ้างที่สอดคล้องกับเงื่อนไขที่กำหนดให้ ดังน้ัน เราจึงควร เขียนเงื่อนไขดังกล่าวให้อยู่ในรูป x = เทอมของ y แล้วพิจารณาค่า y โดยใช้หลักการเช่นเดียวกับการหาโดเมน
3. บทนิยาม โดเมนของฟังก์ชัน คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของฟังก์ชัน f เขียนแทนด้วย Df เรนจ์ของฟังก์ชันคือ เซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อับดับของฟังก์ชัน f เขียนแทนด้วย Rf
4. การหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน สามารถหาไดโดยนิยามของโดเมนแลเรนจ์ การพิจารณาค่าของตัวแปร x กับ ตัวแปร y ในฟังก์ชัน
5. น.ส.พิมพ์รวี อินทะขันธ์ ม.4/5 เลขที่17
6. ตัวอย่างที่ 1 กำหนด f = {(2, 7), (4, 9), (6, 11), (8, 13)} จงหาโดเมนและเรนจ์ วิธีท า จาก f = {(2, 7), (4, 9), (6, 11), (8, 13)} จะได้ Df = {2, 4, 6, 8} Rf = {7, 9, 11, 13}
7. 1. การหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน เมื่อกำหนดฟังก์ชันแบบแจกแจงสมาชิก การหาโดเมนเเละเรนจ์ของฟังก์ชัน
8. 2. การหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน เมื่อกำหนดฟังก์ชันแบบบอกเงื่อนไข สามารถหาได้ 2.1 การหาโดเมน การหาโดเมนเพื่อความสะดวกเราควรเขียนฟังก์ชันใหอยู่ในรูปของ y = เทอมของ x เช่น y = x2 + 1 , y =x 2 x 1 เป็นต้น