ประเภทของระบบสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ประเภทของระบบสารสนเทศ by Mind Map: ประเภทของระบบสารสนเทศ

1. การพัฒนาระบบ EIS ผู้พัฒนาจะต้องมีความรู้ในเรื่องกลยุทธ์ธุรกิจ (Business Strategy)

2. 2.ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System: TPS)

2.1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing System)

2.1.1. ข้อมูลจากหลายๆรายการ จากผู้ใช้หลายๆ คน หรือจากช่วงเวลาหลายๆ ช่วง ถูกรวมเข้าด้วยกัน, นำเข้า และประมวลผลเหมือนเป็นกลุ่มเดียว

2.2. การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing System)

2.2.1. รายการถูกประมวลผลเมื่อเกิดรายการนั้นขึ้น

2.2.1.1. การประมวลผลเชิงรายการ (Transactional Processing)

2.2.1.1.1. ข้อมูลถูกประมวลผลเมื่อป้อนข้อมูลเข้าโดยไม่ต้องเก็บไว้ประมวลผลในภายหลัง

2.2.1.2. การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing)

2.2.1.2.1. ใช้ในระบบควบคุม หรือระบบที่ต้องการให้เกิดผลสะท้อนกลับ

2.3. หน้าที่ของ TPS

2.3.1. 1.การจัดกลุ่มของข้อมูล (Classification)

2.3.1.1. คือ การจัดกลุ่มข้อมูลลักษณะเหมือนกันไว้ด้วยกัน

2.3.2. 2.การคิดคำนวณ (Calculation)

2.3.2.1. การคิดคำนวณโดยใช้วิธีการคณิตศาสตร์

2.3.2.1.1. บวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ เช่น การคำนวณภาษีขายทั้งหมดที่ต้องจ่ายในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา

2.3.3. 3.การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)

2.3.3.1. การจัดเรียงข้อมูลเพื่อทำให้การประมวลผลง่ายขึ้น

2.3.3.1.1. การจัดเรียง invoices ตามรหัสไปรษณีย์เพื่อให้การจัดส่งเร็วยิ่งขึ้น

2.3.4. 4. การสรุปข้อมูล (Summarizing)

2.3.4.1. เป็นการลดขนาดของข้อมูลให้เล็กหรือกระทัดรัดขึ้น

2.3.4.1.1. การคำนวณเกรดเฉลี่ยของนักศึกษาแต่ละคน

2.3.5. 5.การเก็บ (Storage)

2.3.5.1. ารบันทึกเหตุการณ์ที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน อาจจำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลไว้

2.4. กระบวนการของ TPS

2.4.1. Batch processing การประมวลผลเป็นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและรวมไว้เป็นกลุ่มหรือเป็นชุด (batch) เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง โดยการประมวลผลนี้จะกระทำเป็นระยะๆ (อาจจะทำทุกคืน ทุก 2-3 วัน หรือทุกสัปดาห์)

2.4.2. Online processing คือ ข้อมูลจะได้รับการประมวลผลและทำให้เป็นเอาท์พุททันทีที่มีการป้อนข้อมูลของธุรกรรมเกิดขึ้น

2.4.3. Hybrid systems เป็นวิธีการผสมผสานระหว่างวิธี Batch processing และ Online processing

3. 4.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)

3.1. 1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส่วนบุคคล

3.2. เป็นระบบที่สนับสนุนการตัดสินใจประเภทหนึ่ง โดย GDSS เป็นระบบแบบโต้ตอบที่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจร่วม

3.2.1. 1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส่วนบุคคล

3.2.2. 2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่ม(Group Decision Support System : GDSS) เป็นระบบแบบโต้ตอบที่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่มบุคคล

3.2.2.1. ส่วนประกอบของ GDSS

3.2.2.1.1. อุปกรณ์ (Hardware)

3.2.2.1.2. ชุดคำสั่ง (Software)

3.2.2.1.3. ฐานแบบจำลองของระบบ GDSS (Model base)

3.2.2.1.4. บุคลากร (People)

3.2.2.2. ประโยชน์ของ GDSS

3.2.2.2.1. ช่วยเตรียมความพร้อมในการประชุม

3.2.2.2.2. อำนวยความสะดวกด้านการสื่อสารระหว่างสมาชิกในกลุ่ม

3.2.2.2.3. ส่งเสริมและสร้างบรรยากาศในการร่วมมือกันระหว่างสมาชิก

3.2.2.2.4. จัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศที่เหมาะสมในการประชุม

3.2.2.2.5. ช่วยจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

3.2.2.2.6. อำนวยความสะดวกในการจัดทำเอกสารประกอบการประชุม

3.2.2.2.7. ช่วยประหยัดเวลาในการประชุมและสามารถลดจำนวนครั้งของการประชุมได้

4. 5.ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Support System: ESS)

4.1. ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ทักษะ และความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

4.1.1. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

4.1.1.1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning Support)

4.1.1.1.1. ปัจจัยสำคัญในการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Factors)

4.1.1.1.2. เพื่อที่จะสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการช่วยเพิ่มประสิทธ์ภาพในการกำหนดแผนทางกลยุทธ์ที่สมบูรณ์

4.1.1.2. เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร (External Environment Focus)

4.1.1.2.1. จะต้องมีการใช้ฐานข้อมูลขององค์การได้อย่างรวดเร็วแล้ว ยังจะต้องออกแบบให้สามารถเชื่อมโยงกับแหลงข้อมูลที่มาจากภายนอกองค์การ เพื่อให้ได้ซึ่งข้อมูลที่สำคัญที่จำเป็นต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร

4.1.1.3. มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง (Broad-based Computing Capabilities)

4.1.1.3.1. ตัดสินใจของผู้บริหารส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีโครงสร้างไม่แน่นอนและ ขาดความชัดเจน

4.1.1.4. ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน (Exceptional Ease of Learning and Use)

4.1.1.4.1. ผู้บริหารจะมีกิจกรรมที่หลากหลายทั้งภายในและภายนอกองค์การ ผู้บริหารจึงมีเวลาในการตัดสินใจในแต่ละงานน้อย

4.1.2. ข้อดีของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

4.1.2.1. ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง

4.1.2.2. ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

4.1.2.3. ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น

4.1.2.4. ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำเสนออย่างชัดเจน

4.1.2.5. ประหยัดเวลาในการดำเนินงานและการตัดสินใจ

4.1.2.6. สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

4.1.3. ข้อจำกัดของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

4.1.3.1. มีข้อจำกัดในการใช้งาน เนื่องจาก EIS ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง

4.1.3.2. ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร

4.1.3.3. ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์การจะได้รับ

4.1.3.4. ไม่ถูกพัฒนาให้ทำการประมวลผลที่ซับซ้อนและหลากหลาย

4.1.3.5. ซับซ้อนและยากต่อการจัดการข้อมูล

4.1.3.6. ยากต่อการรักษาความทันสมัยของข้อมูลและของระบบ

4.1.3.7. ปัญหาด้านการรักษาความลับของข้อมูล

4.2. คุณลักษณะของระบบสนับสนุนผู้บริหาร EIS

4.2.1. มีการใช้งานบ่อย

4.2.2. ไม่ต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์สูง

4.2.3. ความยืดหยุ่นสูงสามารถเข้ากันได้กับรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร

4.2.4. การใช้งานใช้ในการตรวจสอบ ควบคุม

4.2.5. การสนับสนุนการตัดสินใจไม่มีโครงสร้างแน่นอน

4.2.6. ผลลัพธ์ที่แสดงจะเป็นตัวอักษร ตาราง ภาพและเสียง รวมทั้งระบบมัลติมีเดีย

4.2.7. การใช้งานภาพกราฟิกสูง จะใช้รูปแบบการนำเสนอต่างๆ

4.2.8. ความเร็วในการตอบสนองรวดเร็วทันทีทันใด

5. 1.ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation System: OAS)

5.1. ระบบงานพิมพ์และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์

5.1.1. E – mail

5.1.2. FAX

5.2. รูปแบบการประชุมทางไกลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

5.2.1. การประชุมทางไกลแบบมีแต่เสียง (Audio Conferencing)

5.2.2. การประชุมทางไกลแบบมีทั้งภาพและเสียง (Video - Conferencing)

5.3. สำนักงานที่เป็นสำนักงานอัตโนมัติ

5.3.1. Networking System

5.3.1.1. ระบบข่ายงานที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ระหว่างกันทั่วองค์กร

5.3.2. Electronic Data Interchange

5.3.2.1. การสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน โดยอาศัยสัญญาณข้อมูลข่าวสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบข่ายงาน

5.3.3. Internet Working (Internet)

5.3.3.1. การรวมตัวกันของระบบข่ายงาน ที่กระจายอยู่ทั่วโลกจนกลายเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่

5.3.4. Paperless System

5.3.4.1. ระบบที่ไม่ใช้กระดาษ

5.3.4.1.1. Post Of Sale (POS)

5.3.4.1.2. Electronic Funds Transfer (EFT)

6. 3.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS)

6.1. ระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

6.1.1. 1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผนนโยบายกลยุทธ์และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง

6.1.2. 2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัตและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง

6.1.3. 3.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระดับปฎิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่างจะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฎิบัติงาน

6.1.4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS)

6.1.5. 4.ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล

6.1.5.1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System :TPS)

6.1.5.2. ระบบจัดการรายงาน (Management Reporting System :MRS)

6.1.5.3. ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information System :OIS)

6.1.6. ลักษณะของระบบเอ็มไอเอสที่ดี

6.1.6.1. สนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน

6.1.6.2. ใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร

6.1.6.3. ช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ

6.1.6.4. มีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร

6.1.6.5. มีระบบรักษาความลับของข้อมูล และจำกัดการใช้งานของบุคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น

7. 6.ระบบปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence System and Expert System)

7.1. ES

7.1.1. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญแก่ผู้ใช้โดยทั่วไป

7.1.2. การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญ ในการศึกษาสถานการณ์ต่างๆ

7.1.3. ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ ในกรณีที่ไม่สามารถหาผู้เชี่ยวชาญได้

7.2. องค์ประกอบของ ES

7.2.1. ฐานความรู้ (Knowledge base)

7.2.2. โปรแกรมที่จะนำฐานความรู้ไปใช้เแก้ปัญหาหรือโครงสร้างการตัดสินใจ (Inference engine)

7.2.3. อุปกรณ์ช่วยในการอธิบาย (Explanation facility)

7.2.4. อุปกรณ์ในการหาความรู้ (Knowledge acquisition facility)

7.2.5. การเชื่อมโยงกับผู้ใช้ (User interface)

7.3. ข้อจำกัดของ ES

7.3.1. การนำความรู้ความเชี่ยวชาญมาใช้ใน ES ในบางครั้งอาจทำได้ยาก

7.3.1.1. เนื่องจากผู้เชี่ยวชาญอาจจะไม่สามารถอธิบายได้ว่าตนเองรู้อะไรบ้าง และบางครั้งก็ไม่สามารถอธิบายเหตุผลของความรู้ได้อย่างชัดเจน

7.3.2. แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญจะสามารถอธิบายองค์ความรู้และกระบวนการการให้เหตุผลอย่างชัดเจน แต่กระบวนการในการสร้างกฎเกณฑ์อาจจะสลับซับซ้อนมากเกินไป จนไม่สามารถเสนอแนะคำตอบได้อย่างแน่ชัด

7.3.3. การใช้ ES จะใช้แก้ปัญหาที่ได้รับการออกแบบและใส่ข้อมูลในโปรแกรมแล้วเท่านั้น ดังนั้น ES จึงไม่สามารถจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ นอกจากนี้ ES ไม่สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมาและไม่สามารถใช้ความเชี่ยวชาญที่มีอยู่เพื่อจัดการกับปัญหาใหม่ๆ แบบที่มนุษย์ทำได้

7.3.4. ES ไม่มีวิจารณญาณในการเสนอแนะ ดังนั้นในบางกรณีอาจจะนำไปสู่อันตรายได้

7.4. ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ

7.4.1. ด้านการแพทย์

7.4.1.1. การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ

7.4.1.1.1. ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้

7.4.1.1.2. แหล่งติดเชื้อ

7.4.1.1.3. ราคาของยา

7.4.2. ด้านการผลิต

7.4.2.1. การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ

7.4.2.1.1. ชิ้นส่วนเครื่องบิน

7.4.3. ด้านธรณีวิทยา

7.4.3.1. ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน

7.4.4. ด้านกระบวนการผลิต

7.4.4.1. ห้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้

7.4.5. ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ

7.4.5.1. การออกแบบ ES มาสำหรับช่วยบริษัทที่ทำธุรกิจต่างประเทศในการทำสัญญากับประเทศต่างๆ และใช้เป็นเครื่องมืออบรมพนักงานให้มีความรู้และทักษะในความซับซ้อนของการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น

7.4.6. ด้านการค้าระหว่างประเทศ

7.4.6.1. บริษัทที่ติดต่อกับกลุ่มประเทศ NAFTA ต้องเผชิญปัญหากับภาษีและกฎระเบียบที่สลับซับซ้อนสำหรับสินค้าต่างๆ ตลอดจน ความเข้มงวดในเรื่องพิธีศุลกากร และการกำหนดโทษของการฝ่าฝืนค่อนข้างรุนแรง ดังนั้น ความเสี่ยงในการทำการค้ากลุ่มประเทศดังกล่าวจึงค่อนข้างสูง บริษัทต่างๆ จึงได้อาศัย ES สำเร็จรูปที่ชื่อว่า “Origin” เป็นเครื่องมือช่วยในการให้คำแนะนำในเรื่องกฎระเบียบต่างๆ

7.4.7. ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต

7.4.7.1. ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี