Get Started. It's Free
or sign up with your email address
DQ by Mind Map: DQ

1. Digital Literacy

1.1. การคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระบบ

1.2. การสร้างสรรค์เนื้อหา

1.2.1. การสร้างสิ่งใหม่ๆที่มีคุณค่า โดยสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นอาจมีการอ้างถึงบุคคลผู้สร้างสรรค์ หรือสังคมหรือขอบเขตภายในที่ได้สร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ขึ้นมา ซึ่งการวัดคุณค่าดังกล่าวอาจใช้ได้หลายวิธี

1.3. การคิดวิเคราะห์

1.3.1. เป็นกระบวนการทางจิตสำนึกเพื่อวิเคราะห์ หรือ ประเมินข้อมูล ในคำแถลง หรือ ข้อเสนอที่มีผู้แถลงหรืออ้างว่าเป็นความจริง การคิดวิเคราะห์เป็นรูปแบบของกระบวนการที่สะท้อนให้เห็นความหมายของคำแถลง (statement) และการตรวจสอบหลักฐานที่ได้รับการไต่ตรองด้วยเหตุและผล แล้วจึงทำการตัดสินคำแถลงหรือข้อเสนอที่ถูกอ้างว่าเป็นความจริงนั้น

2. Digital Emotional Intelligence

2.1. การตระหนักทางสังคมและอารมณ์

2.1.1. ความสามารถของเด็กในการแสดงออกถึงการรับรู้เกี่ยวกับตนเองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและสิ่งแวดล้อม การแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสมในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การจัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กเกิดความตระหนักรู้ทางสังคมควรเริ่มจากเรื่องราวที่อยู่ใกล้ตัวไปสู่เรื่องราวที่ไกลตัวออกไป และควรเน้นการเรียนรู้จากสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ได้แก่ การเรียนรู้ความสัมพันธ์กับบ้าน ความสัมพันธ์กับโรงเรียน ความสัมพันธ์กับชุมชน และความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

2.2. การรับรู้/การควบคุมอารมณ์

2.2.1. เป็นความสามารถในการตอบสนองทางอารมณ์ต่อประสบการณ์ในรูปแบบที่สังคมยอมรับได้แต่ยืดหยุ่นพอที่จะเป็นปฏิกิริยาแบบฉับพลัน และเป็นความสามารถในการผัดผ่อนปฏิกิริยาแบบฉับพลันถ้าจำเป็น หรือสามารถนิยามได้ว่า เป็นกระบวนการไม่ว่าจะเป็นภายนอกหรือภายในที่มีหน้าที่ตรวจสอบ ประเมิน และเปลี่ยนปฏิกิริยาทางอารมณ์ การควบคุมอารมณ์ของตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการควบคุมอารมณ์ ซึ่งรวมการควบคุมทั้งตัวเองและผู้อื่น

2.3. ความเอาใจใส่ เข้าใจความรูสึก

2.3.1. การเอาใจใส่จึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งที่ทำให้การทำงานบรรลุจุดมุ่งหมายด้วยดี และผู้ที่ร่วมทำงานก็มีความสุขและรู้สึกว่าตนนั้นมีคุณค่าแก่องค์การ

3. Digital Security

3.1. การป้องกันรหัสผ่าน

3.1.1. รหัสผ่านเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญในการรักษาความปลอดภัยของบัญชีผู้ใช้งานหรือในระบบที่ต้องการความปลอดภัย ซึ่งรหัสผ่านถือเป็นสิ่งที่ใช้สำหรับยืนยันความถูกต้องของตัวบุคคลนั้นๆ การใช้งานรหัสผ่านจึงช่วยป้องกันความปลอดภัย การเข้าถึงข้อมูลโดยมิชอบนั้นได้ หากผู้ใช้งานไม่ให้ความสำคัญในการตั้งค่ารหัสผ่านก็จะทำให้ผู้ไม่หวังดีสามารถคาดเดารหัสผ่านและเข้าถึงข้อมูลของท่านได้อย่างง่ายดาย โดยแนวทางและข้อแนะนำในการตั้งค่ารหัสผ่านให้ปลอดภัย

3.2. ระบบความปลอดภัยทางอินเทอร์เน็ต

3.2.1. ระบบที่มีไว้เพื่อป้องกันภัยคุกคามจากผู้ที่ประสงค์ร้ายต่อธุรกิจข้อมูลที่เป็นความลับขององค์กรหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลทั่วไปที่องค์กรนั้นมีอยู่รวมไปถึงข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจากผู้ที่ต้องการคุกคามผู้ใช้คอมพิวเตอร์บนโลกอินเตอร์เน็ตหรือจากระบบรักษาความปลอดภัยในเครื่องคอมพิวเตอร์เอง

3.3. ระบบความปลอดภัยบนมือถือ

3.3.1. โทรศัพท์มือถือเข้ามาแทนที่คอมพิวเตอร์แบบวางตักหรือ “แล็ปท็อป” มานานแล้ว นาฬิกาข้อมืออัจฉริยะหรือ “สมาร์ทวอทช์” กำลังจะเข้ามาแทนที่โทรศัพท์มือถือในฐานะ “อุปกรณ์ยอดนิยม” ชิ้นใหม่ในโลกเทคโนโลยี บุคลากรทางทหารใช้อุปกรณ์ดังกล่าวที่บ้าน และบุคลากรรุ่นใหม่ ๆ ที่โตมากับโลกที่ล้วนแต่จะมีของหรูหราฟุ่มเฟือยเหล่านี้ก็มองหางานที่ผู้จ้างไม่เพียงแต่จะต้องมีความรู้เรื่องอุปกรณ์ที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดเท่านั้น แต่ยังต้องจัดหาอุปกรณ์เหล่านี้ไว้ให้ลูกจ้างใช้อีกด้วย

4. Digital Ues

4.1. การใช้เวลาหน้าจอ

4.1.1. ในการจับภาพหน้าจอ สามารถทำได้หลายวิธี ซึ่งสามารถทำได้โดยผ่านทางระบบปฏิบัติการ หรือผ่านทางโปรแกรมเฉพาะต่างๆ และรวมถึงภาพถ่ายจากกล้องถ่ายภาพตามที่ได้กล่าวมาแล้ว

4.2. สุขภาพ การแพทย์ดิจิทัล

4.2.1. ทำให้เกิดแพลทฟอร์มรูปแบบต่างๆ ซึ่งเป็นหนึ่งในตัวช่วยสำคัญสำหรับการผันตัวสู่ความเป็นดิจิตอลมากขึ้น โดยอุตสาหกรรมทางการแพทย์ (Healthcare) ก็ต้องผันตัวเองให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงนี้เช่นกัน โดยไอทีก็มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนโฉมนวัตกรรมทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วย ผู้เชี่ยวชาญและผู้ให้บริการด้านสุขภาพ เพื่อตอบรับกันเทรนด์โลก หรือ ดิจิตอลเฮลท์แคร์

4.3. การมีส่วนร่สมของชุมชน

4.3.1. การพัฒนาชุมชนที่สำคัญคือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาในชุมชนหรือเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนนั้นๆให้ดีขึ้นจะต้องเกิดจากชุมชนเองโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่คอยช่วยเหลือ ชี้แนะด้านวิชาการให้ความรู้ใหม่ๆแต่ไม่ใช่ไปสั่งการให้ประชาชนในชุมชนนั้นปฏิบัติตามสิ่งที่เจ้าหน้าที่ต้องการ เพราะฉะนั้นการที่จะได้มาซึ่งปัญหาของชุมชนจริงๆเราในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้องเข้าถึงชุมชนและสิ่งที่สำคัญคือต้องทำงานด้วยใจจริงๆถึงจะได้ใจชุมชนและได้ทราบถึงปัญหาที่แท้จริงของชุมชนนั้นๆ.....

5. Digital ldentity

5.1. พลเมืองดิจิทัล Digital citizen

5.1.1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพเป็นคุณลักษณะเบื้องต้นของการเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัลนอกจากนี้บุคคลผู้นั้นจะต้องมีทักษะและความรู้ ที่หลากหลายในการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์และช่องทางการสื่อสารประเภทต่างๆ

5.2. ผู้ร่วมสร้างดิจิทัล Digital co - creator

5.3. ผู้ประกอบการ Digital entrepreneur

6. Digital Rights

6.1. เสรีภาพในการพูด

6.1.1. เป็นสิทธิการเมืองในการสื่อสารความคิดของบุคคลผ่านการพูด

6.2. การคุ้มคริงสิทธิของทรัพย์สินทางปัญญา

6.2.1. สิทธิทางกฎหมายที่ให้เจ้าของสิทธิ หรือ "ผู้ทรงสิทธิ" มีอยู่เหนือสิ่งที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ทางปัญญาของมนุษย์ โดยอาจแบ่งทรัพย์สินทางปัญญาออกได้ 2 ประเภทหลัก คือ (1) ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมและ (2) ลิขสิทธิ์ สำหรับทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมยังแบ่งออกได้อีก 5 ประเภท ได้แก่ (1) สิทธิบัตร (2) อนุสิทธิบัตร (3) เครื่องหมายการค้า (4) ความลับทางการค้า และ (5) สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (6) แบบผังภูมิของวงจรรวม (7) คุ้มครองพันธุ์พืช (8) ภูมิปัญญาท้องถิ่น

6.3. ความเป็นส่วนตัว

6.3.1. สิทธิของบุคคลที่ประกอบไปด้วยสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว ในเรื่องดังกล่าวน่าจะจัดอยู่ในเรื่องของความเป็นอยู่ส่วนตัวซึ่งหมายความว่า สถานะที่บุคคลจะรอดพ้นจากการสังเกต การรู้เห็น การสืบความลับ การรบกวนต่างๆ และความมีสันโดษ ไม่ติดต่อสัมพันธ์กับสังคม โดยทั้งนี้ ขอบเขตที่บุคคลควรได้รับการคุ้มครองและการเคารพในสิทธิส่วนบุคคลก็คือการดำรงชีวิตอย่างเป็นอิสระ มีการพัฒนาบุคลิกลักษณะตามที่ต้องการ สิทธิที่จะแสวงหาความสุขในชีวิตตามวิถีทางที่อาจเป็นไปได้และเป็นความพอใจตราบเท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนและไม่เป็นการล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น

7. Digital Communication

7.1. ความร่วมมือออนไลน์

7.2. การสื่อสารออนไลน์

7.2.1. สื่อดิจิทัลที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม (Social Tool) เพื่อใช้สื่อสารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆ ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ทั้งที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วนร่วม (Collaborative) อย่างสร้างสรรค์ ในการผลิตเนื้อหาขึ้นเอง (User-GenerateContent: UGC) ในรูปของข้อมูล ภาพ และเสียง

7.3. ร่องรอยเท้าดิจิทัล

7.3.1. สิ่งที่เราทำลงไปบนโลกดิจิตอล

8. Digital Safety

8.1. ความเสี่ยงจากพฤติกรรม

8.2. ความเสี่ยงจากเนื้อหา

8.2.1. การวัดความสามารถ ที่จะดำเนินการให้วัตถุประสงค์ของงานประสบความสำเร็จ ภายใต้การตัดสินใจ งบประมาณ กำหนดเวลา และข้อจำกัดด้านเทคนิคที่เผชิญอยู่ อย่างเช่น การจัดทำโครงการเป็นชุดของกิจกรรม ที่จะดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่งในอนาคต โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด มาดำเนินการให้ประสบความสำเร็จ ภายใต้กรอบเวลาอันจำกัด ซึ่งเป็นกำหนดการปฏิบัติการในอนาคต ความเสี่ยงจึงอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา อันเนื่องมาจากความไม่แน่นอน และความจำกัดของทรัพยากรโครงการ ผู้บริหารโครงการจึงต้องจัดการความเสี่ยงของโครงการ เพื่อให้ปัญหาของโครงการลดน้อยลง และสามารถดำเนินการให้ประสบความสำเร็จ ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

8.3. ความเสี่ยงจากการติดต่อพบปะ