พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 by Mind Map: พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543

1. ผู้ทำบัญชี

1.1. หมายถึง

1.1.1. ผู้รับผิดชอบในการทำบัญชีของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

1.2. คุณสมบัติของผู้ทำบัญชี

1.2.1. มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในไทย

1.2.2. มีความรู้ภาษาไทยเพียงพอ

1.2.3. มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามที่จะประกอบวิชาชีพเป็นผู้ทำบัญชี

1.2.4. ไม่เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก

1.2.5. มีคุณวุฒิการศึกษา

1.2.5.1. กลุ่มที่1

1.2.5.1.1. ไม่ต่ำกว่าอนุปริญญาหรือประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางการบัญชี

1.2.5.1.2. เทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาซึ่ง คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)

1.2.5.2. กลุ่มที่2

1.2.5.2.1. ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบัญชีหรือ เทียบเท่า หรือได้รับประกาศนียบัตร

1.2.5.2.2. วุฒิอื่นเทียบเท่าปริญญาตรีสาขาวิชาการ บัญชีที่สภาวิชาชีพบัญชีรับรอง

1.3. เงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชี

1.3.1. ต้องเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชีหรือขึ้นทะเบียนไว้กับสภาวิชาชีพบัญชี

1.3.2. แจ้งรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการทำบัญชีทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ภายใน 30วัน นับแต่วันเริ่มทำบัญชี

1.3.3. ต้องเข้ารับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี ไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมงต่อปีปฏิทิน

1.3.3.1. โดยจำนวนชั่วโมงต้องมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับการบัญชีไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง

1.3.4. แจ้งรายละเอียดการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชีทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ทุกปี

1.3.5. อำนาจในการตรวจสอบบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี

1.3.5.1. ตรวจสอบบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีเข้าไปในสถานที่ทำการหรือสถานที่เก็บรักษาบัญชี

1.3.5.2. สั่งเป็นหนังสือให้ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี หรือผู้ทำบัญชีมาให้ถ้อยคำหรือส่งบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี

1.3.5.3. ยึด อายัดบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบลงบัญชีได้

1.3.6. รับทำบัญชีของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีได้ไม่เกิน 100 ราย ต่อปีปฏิทิน

1.4. หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชี

1.4.1. ต้องจัดทำบัญชีเพื่อให้มีการแสดงผลตามความเป็นจริงและตามมาตรฐานการบัญชี โดยมีเอกสารครบถ้วน

1.4.2. การลงรายการในบัญชี

1.4.2.1. ลงรายการเป็นภาษาไทย หากลงรายการเป็นภาษาต่างประเทศให้มีภาษาไทยกำกับ

1.4.2.2. เขียนด้วยหมึก ดีดพิมพ์ ตีพิมพ์

2. บทกำหนดโทษที่สำคัญ ๆ

2.1. ความผิดที่ระวางโทษปรับ

2.1.1. ไม่ปิดบัญชี ภายในระยะเวลาที่กำหนด

2.1.1.1. ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท

2.1.1.1.1. ผู้รับโทษ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

2.1.2. ไม่จัดทำงบการเงินและยื่นงบการเงินภายใน เวลาที่กำหนด

2.1.2.1. ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท

2.1.2.1.1. ผู้รับโทษ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

2.1.3. ไม่จัดให้งบการเงินรับการตรวจสอบและ แสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

2.1.3.1. ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท

2.1.3.1.1. ผู้รับโทษ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

2.1.4. ไม่ลงรายการในบัญชีเป็นภาษาไทย

2.1.4.1. ปรับไม่เกินห้าพันบาท

2.1.4.1.1. ผู้รับโทษ ผู้ทำบัญชี

2.1.5. ไม่จัดทำบัญชีเพื่อให้มีการแสดงผลการ ดำเนินงานฐานะการเงินหรือการเปลี่ยนแปลง ฐานะการเงินตามความเป็นจริง ตามมาตรฐานการบัญชี

2.1.5.1. ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท

2.1.5.1.1. ผู้รับโทษ ผู้ทำบัญชี

2.1.6. อื่นๆ

2.2. ความผิดที่มีระวางโทษปรับและจำคุก

2.2.1. ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของสารวัตรใหญ่ บัญชี หรือสารวัตรบัญชีในการปฏิบัติหน้าที่

2.2.1.1. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับ ไม่เกินสอง หมื่นบาทหรือ ทั้งจำทั้งปรับ

2.2.1.1.1. ผู้รับโทษ ผู้ทำบัญชี

2.2.2. ทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้นหรือทำให้ สูญหาย ทำให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งบัญชีหรือ เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี

2.2.2.1. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสอง หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

2.2.2.1.1. ผู้รับโทษ ผู้ทำบัญชี

2.2.2.2. จำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

2.2.2.2.1. ผู้รับโทษ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

2.2.3. ลงรายการเท็จ แก้ไข ละเว้นการลง รายการในบัญชีหรืองบการเงิน หรือแก้ไข เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีเพื่อให้ ผิดความเป็นจริง

2.2.3.1. จำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

2.2.3.1.1. ผู้รับโทษ ผู้ทำบัญชี

2.2.3.2. จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหก หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

2.2.3.2.1. ผู้รับโทษ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

3. ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

3.1. หมายถึง

3.1.1. ผู้มีหน้าที่จัดให้มีการทำบัญชีตามพรบ.การบัญชี 2543

3.2. แบ่งได้ 2 กลุ่ม

3.2.1. กลุ่มที่ 1

3.2.1.1. ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน

3.2.1.1.1. ได้แก่

3.2.1.1.2. ผู้ที่กระทำการแทน คือ

3.2.1.2. บริษัทจำกัด

3.2.1.2.1. ผู้ที่กระทำการแทน คือ

3.2.1.3. บริษัทมหาชนจำกัด

3.2.1.3.1. ผู้ที่กระทำการแทน คือ

3.2.1.4. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย

3.2.1.4.1. ผู้ที่กระทำการแทน คือ

3.2.1.5. กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร

3.2.1.5.1. ผู้ที่กระทำการแทน คือ

3.2.1.6. ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีประกอบธุรกิจเป็นประจำ โดยมีสถานที่ประกอบการแยกออกไปจากสำนักงานใหญ่โดยมีที่ตั้งถาวร

3.2.1.6.1. ผู้ที่กระทำการแทน คือ

3.2.2. กลุ่มที่ 2

3.2.2.1. บุคคลธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียนที่ประกอบธุรกิจเป็นผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ผู้มีไว้เพื่อจำหน่าย ผู้นำเข้ามาในราชอาณาจักร หรือผู้ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร

3.2.2.2. บุคคลธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียนที่ประกอบธุรกิจที่ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับงาช้าง

3.3. หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

3.3.1. จัดให้มีการทำบัญชีนับแต่วันเริ่มทำบัญชี

3.3.1.1. กลุ่มที่ 1

3.3.1.1.1. ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน, บริษัทจำกัด , บริษัทมหาชนจำกัด

3.3.1.1.2. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย

3.3.1.1.3. กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร, สถานที่ประกอบธุรกิจเป็นประจำ

3.3.1.2. กลุ่มที่ 2

3.3.1.2.1. บุคคลธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียนตามประกาศกระทรวงพาณิชย์

3.3.2. จัดให้มีการทำบัญชีให้ครบถ้วนและถูกต้อง

3.3.2.1. ชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำ

3.3.2.1.1. บัญชีรายวัน

3.3.2.1.2. บัญชีแยกประเภท

3.3.2.1.3. บัญชีสินค้า

3.3.2.1.4. บัญชีแยกประเถทย่อยตามธุรกิจ

3.3.2.1.5. บุคคลธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียน ต้องจัดทำบัญชีสินค้าเท่านั้น

3.3.2.2. ข้อความและรายการที่ต้องมีในบัญชี

3.3.2.3. ระยะเวลาที่ต้องลงรายการในบัญชี

3.3.2.3.1. บัญชีรายวัน

3.3.2.3.2. บัญชีแยกประเภท

3.3.2.3.3. บัญชีสินค้า

3.3.2.4. เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี

3.3.2.4.1. เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยบุคคลภายนอก

3.3.2.4.2. เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีเพื่อออกให้แก่บุคคลภายนอก

3.3.2.4.3. เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีเพื่อใช้ในกิจการตนเอง

3.3.3. ต้องปิดบัญชีครั้งแรกภายใน 12 เดือนนับแต่วันเริ่มทำบัญชีและปิดบัญชีทุกรอบ 12 เดือนนับแต่วันปิดบัญชีครั้งก่อน

3.3.4. ต้องจัดทำงบการเงินและยื่นงบการเงิน

3.3.4.1. เฉพาะผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีตามกลุ่มที่ 1

3.3.4.2. ระยะเวลาที่ต้องยื่งบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

3.3.4.2.1. ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่วมค้า ตามประมวลรัษฎากร

3.3.4.2.2. บริษัทจำกัด และ บริษัทมหาชนจำกัด

3.3.4.3. การยื่นงบการเงินให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นงบการเงินที่อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจ การค้าประกาศกำหนด

3.3.4.4. งบการเงินต้องได้รับการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

3.3.4.4.1. ยกเว้นห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่มีทุกรายการจะได้รับการยกเว้น

3.3.5. จัดให้มี “ผู้ทำบัญชี”

3.3.6. ส่งมอบเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีให้แก่ผู้ทำบัญชีให้ครบถ้วนถูกต้อง

3.3.7. เก็บรักษาบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี

3.3.7.1. ต้องเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันปิดบัญชี

3.3.8. เมื่อบัญชีหรือเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีสูญหายหรือเสียหาย

3.3.8.1. ต้องแจ้งสารวัตรใหญ่บัญชี หรือสารวัตรบัญชีภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ทราบหรือควรทราบถึงการสูญหายหรือเสียหายนั้น