1. 1 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น ทำให้ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น
2. เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
2.1.1. เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศและเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
2.2. .เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านด้านสังคม
2.2.1. ทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY(Digital Accessible Information System)
2.3. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.4. .เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านศึกษา
2.4.1. การศึกษาทางไกล
2.4.2. เครือข่ายการศึกษา
2.5. .เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสาธารณสุข
2.5.1. เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนำมาใช้ในการพัฒนาด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวาง และทำให้งานด้าน สาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับระบบการบริหารงาน และนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ
3. ความสัมพันธ์เทคโนโลยีกับสาสตร์อื่นๆ
3.1. วิทยาศาสตร์
3.1.1. เทคโนโลยีสัมพันธ์กับความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ดังนั้นเทคโนโลยีจึงเกิดการใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้เทคโนโลยีก็เพื่อแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี เทคโนโลยีใช้เพื่อเสริมการแก้ปัญหา นั่นก็คือ การนำความรู้วิทยาศาสตร์ไปคู่การปฏิบัตินั่นเอง
3.2. ศึกษาศาสตร์
3.2.1. 2 เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน การเรียนการสอนจะเป็นการตอบสนองความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้ดี
3.2.2. 3 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
3.2.3. 4 เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง
3.2.4. 5 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด
3.3. เกษตรศาสตร์
3.4. เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กันมาก เทคโนโลยีเกิดจากพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ (คริสต์ศตวรรษที่ 16-17) ทำให้การพัฒนาเทคโนโลยีเจริญก้าว หน้าควบคู่ไปกับวิทยาศาสตร์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่เกิดจากการสังเกตปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ คือการพยายามที่อธิบายว่าทำไมจึงเกิดอย่างนั้น เช่น นักฟิสิกส์ อธิบายว่า เมื่อขดลวดตัดสนามแม่เหล็กจะได้กระแสไฟฟ้า และน้ำเกิดจากไฮโดรเจนผสมกับออกซิเจน เป็นต้น ตั้งเป็นกฎเกณฑ์และทฤษฎีเพื่อถ่ายทอดและสอนให้ผู้อื่นได้ศึกษาและพัฒนา ส่วนในความหมาย ของเทคโนโลยีเป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติแก่มวลมนุษย์ กล่าวคือ เทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้
3.4.1. 4. อุปนิสัยในการบริโภค (Food Habbit) ศึกษาการกินและความเคยชินในการบริโภค 5. ทุพโภชนาการ(Mulnutrition) เป็นสภาพร่างกายที่ขาดสารอาหาร หรืออาจเรียกว่าเป็นโรคที่เกิดจากการขาดสารอาหาร
3.5. โภชนศาสตร์
3.5.1. โภชนศาสตร์ หรือ โภชนาการ เป็นวิชาวิทยาศาสตร์แขนง-หนึ่งที่กล่าวถึงความสำคัญของอาหารที่มีต่อสุขภาพของร่างกาย
3.5.1.1. “ ศัพท์เฉพาะทางโภชนศาสตร์ที่ควรทราบ “
3.5.1.1.1. 1. อาหารที่กำหนดให้ (DIET) เป็นอาหารที่ได้กำหนดไว้หรือให้ รายชื่อตายตัวของอาหารนั้นแต่ละมื้อโดยมักจะกำหนดเป็นรายการอาหาร
3.5.1.1.2. 2 .ผู้กำหนดอาหาร(Dietitian หรือ Dietecian) คือบุคลผู้ด้ำเนินงานด้านจัดปรุงอาหาร โดยยึดหลักวิชาโภชนศาสตร์ ในการจัดเตรียมอาหารบุคคลผู้นี้ต้อง คิดทำรายการอาหารเพื่อบริโภคเป็นมื้อรวมทั้งอาหารปกติและสำหรับคนป่วย
3.5.1.1.3. 3. อาหาร (Food) คือสิ่งที่มนุษย์นำมาบริโภคได้ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกายซ่อมแซมชำรุดส่วนที่สึกหรอให้พลังงานและความอบอุ่นตลอดจนช่วยในการคุ้มกันโรค พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ได้นิยามคำศัพท์คำว่า อาหาร ว่า อาหาร คือของกินหรือของค้ำจุนชีวิต ได้แก่ วัตถุทุกชนิดที่กิน ดื่ม อม หรือนำเข้าสู่ร่างกายแต่ไม่รวมถึงยา วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้หรือใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตอาหาร
3.5.1.1.4. 6. สารอาหารหรือธาตุอาหาร(Nutrients) ได้แก่สารเคมีต่างๆที่มีอยู่ในอาหารที่คน รับประทานเข้าไป แบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ๆ คือ 6.1 Inorganic compounds ประกอบด้วยเกลือแร่และน้ำ 6.2 Organic compounds ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน และวิตามิน
3.5.1.2. ประโยชน์ของอาหาร 1. ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย 2. ทำให้มีการเจริญเติบโต 3. ช่วยบำรุงและกระตุ้นอวัยวะต่างๆให้ทำงาน 4. ช่วยให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันโรค บำรุงสุขภาพ 5. ช่วยในการสืบพันธุ์ 6. ช่วยให้มีชีวิตยืนยาว
3.6. แพทยศาสตร์
3.6.1. การพัฒนาเทคโนโลยีที่ไม่หยุดยั้งทั้งทางด้านเทคโนโลยีการประมวลผล ซอฟต์แวร์เทคโนโลยีทางด้านการแพทย์ลาธารณสุขมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับการให้บริการผู้ป่วยและการจัดการบริหารงานของระบบโรงพยาบาลและสาธารณสุขจวบจนวันนี้
3.6.2. เพียงแค่คลิกคอมพิวเตอร์ที่บ้าน หรือแค่นอนพักผ่อนที่บ้าน คอมพิวเตอร์ที่อยู่รอบๆ ตัวคุณก็สามารถตรวจเช็คสุขภาพของคุณโดยที่คุณไม่รู้ตัวและสามารถส่งข้อมูลสุขภาพไปยังแพทย์เจ้าของไข้ หรือตรวจโรคผ่านระบบ ออนไลน์ สิ่งเหล่านี้จะไม่ใช่เรื่องไกลตัวเราอีกต่อไป เมื่อบริษัทผู้พัฒนาซอฟต์แวร์และแอพพลิคเคชั่นต่างๆ หันมาพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อตอบสนองชีวิตประจำวันของมนุษย์มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแพทย์ทางไกลมาให้บริการผู้ป่วย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล บริการสุขภาพสู่ยุค Health 3.0
4. ด้านสิ่งแวดล้อม
5. ด้านการดำรงชีวิตประจำวัน
5.1. ในชีวิตประจำวันเราต้องเจอกับเทคโนโลยีสารสนเทศมากมายเลยครับ ดังนั้นเทคโนโลยีจึงมีผลกับเรา ไม่ว่าจะเป็นการเรียนการสอนในโรงเรียนจะมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจำลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ เป็นต้น
6. เทคโนโลยีการสื่อสาร โทรคมนาคม ได้แก่ โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต โทรทัศน์ ฯลฯ
7. เทคโนโลยีสารสนเทศจัดวามีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาประเทศทั้งประเทศที่ พัฒนาแลวหรือในประเทศที่กําลังพัฒนา แมวาเทคโนโลยีนี้จะยังไมมีบทบาทโดยเดนในการ พัฒนาดานอุตสาหกรรมและการคาในกลุมประเทศที่กําลังพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แตก็มีความสําคัญอยางยิ่งยวดในดานการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการจัดใหบริการสังคมพื้นฐาน ไดแก การศึกษาและการสาธารณสุข เปนตน และในการบริหารประเทศ รวมถึงการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพและ ยั่งยืนดวย
8. นำเอาเทคโนโลยีที่เรียกว่า GIS (Geographic Information System) เข้ามาจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกำหนดข้อมูลด้านตำแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (ground position) ซึ่งรวบรวม จากแหล่งต่างๆ ทั้งข้อมูลพื้นที่ แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายทางดาวเทียม เพื่อนำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาผังเมือง ประยุกต์ใช้งานทางด้านธรณีวิทยา การพยากรณ์อากาศและการควบคุมสิ่งแวดล้อม
9. เทคโนโลยี คืออะไร?
9.1. มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
9.2. ยกตัวอย่าง
9.2.1. เทคโนโลยีกับการพัฒนาอุตสาหกรรม การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต ทำให้ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น ประหยัดแรงงาน ลดต้นทุนและ รักษาสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีที่มีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย เช่น คอมพิวเตอร์า
9.2.2. เทคโนโลยีกับการพัฒนาด้านการเกษตร ใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เป็นต้น เทคโนโลยีมีบทบาทในการพัฒนาอย่างมาก แต่ทั้งนี้การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาจะต้องศึกษาปัจจัยแวดล้อมหลายด้าน
10. ความสัมพันธ์และบทบาทของเทคโนโลยี
10.1. ด้านการพัฒนาประเทศ
11. เทคโนโลยีท้องถิ่นและเทคโนโลยีนำเข้า
11.1. เทคโนโลยีท้องถิ่น
11.1.1. หมายถึง ศิลปะการสร้าง ประยุกต์ หรือดัดแปลง เครื่องมือที่ใช้ให้สอดคคล้องกับชีวิต สภาพท้องถิ่นให้ได้ประโยชน์และแระหยัด ประเภทของภูมิปัญญชาวบ้านและเทคโนโลยีท้องถิ่น ภูมิปญญาด้านประเพณีชาวบ้าน
11.1.2. ระดับของเทคโนโลยีท้องถิ่น
11.1.2.1. เทคโนโลยีระดับต่ำ (Low technology) ตั้งแต่ยุคโบราณ ใช้แรงงานท้องถิ่น มีการสืบทอดเทคโนโลยีต่อๆ กันมาพร้อมกับขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น
11.1.2.2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate technology) เกิดจากการพัฒนา ปรับปรุง เทคโนโลยี เพื่อให้ได้รับประโยชน์มากขึ้น มีการเสริมความรู้และประสบการณ์ให้กับผู้คนในท้องถิ่น
11.1.2.3. เทคโนโลยีระดับสูง (High technology) ได้จากประสบการณ์อันยาวนาน มีความสลับซับซ้อน มีคุณภาพดีขึ้น มีการวิจัยสม่ำเสมอ
11.2. เทคโนโลยีนำเข้า
11.2.1. เทคโนโลยีการเกษตร ได้แก่ สารเคมีป้องกัน กำจัดศัตรูพืช
11.2.2. เทคโนโลยีชีวภาพ ได้แก่ การผลิตวัคซีนป้องกันโรคต่างๆ
11.2.3. เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมเหล็ก เคมี
11.2.4. เทคโนโลยีทางการแพทย์ ได้แก่ การพัฒนายาใหม่ อวัยวะเทียม