Kom i gang. Det er Gratis
eller tilmeld med din email adresse
ระบบคอมพิวเตอร์ af Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. Data/Information

1.1. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลคำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ

1.2. ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทำงาน ซึ่งอาจนำมาจำแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สำหรับคำนวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชำระให้กับการไฟฟ้าฯ

2. Procedure

2.1. รับข้อมูลเข้า (Input) การรับข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผล อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์

2.2. ประมวลผล (Process) การรับข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้ว จะทำการประมวลผลตามโปรแกรมคำสั่งที่กำหนดไว้

2.3. แสดงผล (Output) การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไปยังหน่วยแสดงผล อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผล ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์

2.4. จัดเก็บข้อมูล (Storage) การทำการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสเก็ต

3. People ware

3.1. 1. นักวิเคราะห์ระบบงาน (System Analysist :SA) บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับผู้ใช้โปรแกรม ผู้จัดองค์กรและโปรแกรมเมอร์ ทำการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่ ติดตั้งระบบงานใหม่ รวมทั้งประเมินผลระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถมากกว่าโปรแกรมเมอร์

3.2. 2. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) บุคลากรที่ทำหน้าที่นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง โดยทำการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับระบบงานนั้น ๆ

3.3. 3.ผู้ใช้ (User) กลุ่มบุคลากรที่เป็นผู้ใช้ (User) และเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานของคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้ใช้ระบบงาน

3.4. 4.พนักงานปฏิบัติการ (Operator) บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์

3.5. 5.ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารการจัดการฐานข้อมูลและการดูแลรักษาฐานข้อมูลขององค์กร

3.6. 6.นักวิเคราะห์ระบบ (System Manager) ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน

4. ความหมาย

4.1. คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูลทั้งตัวเลข และตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไปนอกจากนี้ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆอีกมาก เช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้

4.2. ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย ฮาร์ดแวร์(Hardware) ซอฟต์แวร์(Software) และบุคลากร (Peopleware)

5. Software

5.1. เป็นชุดคำสั่งที่ใช้ในการสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน โดยจะอยู่ในลักษณะเป็นชุดคำสั่ง หรือที่เรารู้จักในรูปแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยสามารถเเบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

5.1.1. 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อเพื่อใช้ใในการควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้การติดต่อประสานกันระหว่าง อุปกรณ์แต่ละชิ้น ให้สามารถทำงานร่วมกันได้โดยไม่มีปัญหา ซอฟต์แวร์ระบบที่เป็นที่รู้จัก เช่่น Windows, OSX, Linux เป็นต้น

5.1.2. 2. ซอฟแวร์ปประยุกต์ (Application Software) เป็นชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นมาเป็นโปรแกรมที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ ซึ่งมันคือ โปรแกรมที่เราใช้งานอยู่ทุกวันนี้เอง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งได้อีก 2 ประเภทคือ

5.1.2.1. 1.ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เช่น ซอฟต์แวร์นำเสนองาน ซอฟต์แวร์ติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูล

5.1.2.2. 2.ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมสำหรับควบคุมเครื่องจักรกล

6. Hardware

6.1. Process ที่อาจหมายถึงการคำนวณ (compute) การรวม (assemble) การ แปล (translate) การตีความ (interprete) หรือการทำอะไรก็ตามที่ทำให้ได้ผลลัพธ์ โดยสรุป การประมวลผล คือการนำเอาข้อมูล (ดิบ) มาบวก ลบ คูณ หาร เปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ ฯลฯ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง ผลลัพธ์ที่ได้ เรียกว่า สารสนเทศ (information)

6.2. Input หมายถึง ข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อที่การประมวลผล ซึ่งสามารถส่งผ่านเข้าไปได้หลายทางเป็นต้นว่า แป้นพิมพ์ เมาส์ โมเด็ม ฯ ดู output เปรียบเทียบ

6.3. หมายถึง ส่วนกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. หน่วยรับข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ หน่วยบันทึก 2. หน่วยความจำ เช่น ชิป (chip) หรือหน่วยความจำรอง เช่น จานบันทึก 3. หน่วยแสดงผล

6.4. ผลผลิต (Output) คือ คะแนนสอบที่เราทำได้ Output และ Outcome มีความแตกต่างกันโดย Output คือ สิ่งที่ทำออกมาเป็นผลิตผล (Product) ซึ่งวัดได้เมื่อสิ้นสุดการกระทำ แต่... Outcome คือ ผลประโยชน์ที่ได้จาก Product ซึ่งต้องทอดระยะเวลาไว้ช่วงหนึ่ง

6.5. storage คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นไฟล์เอกสาร ไฟล์รูปภาพ ไฟล์เสียง หรือไฟล์วีดีโอ หากมีข้อมูลเป็นจำนวนมาก ก็มีความจำเป็นจะต้องเพิ่มพื้นที่เก็บข้อมูลให้มากขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้

6.5.1. หน่วยความจำหลัก (Primary Storage) เป็นส่วนที่มีหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆ ก่อนที่จะส่งไปยังหน่วยประเมิลผลกลางเพื่อทำการประมวลผลต่อไป เมื่อเปิดเครื่ององคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วยความจำก็จะหายไปหมด

6.5.2. หน่วยความจำรอง (secondary storage) เป็นหน่วยเก็บข้่อมูลถาวรที่ผู้ใช้สามารถย้ายข้อมูล และคำสั่งที่อยู่ในหน่วยความจำแรมขณะที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานมาจัดเก็บไว้ได้ด้วยคำสั่งบันทึกของโปรแกรมประยุกต์ ทำให้ผู้ใช้สามารถเรียกข้อมูล