หลักโภชนบำบัด

Kom i gang. Det er Gratis
eller tilmeld med din email adresse
หลักโภชนบำบัด af Mind Map: หลักโภชนบำบัด

1. โภชนบำบัด

1.1. คือ การใช้อาหารและความรู้ด้านโภชนศาสตร์รักษาโรคของผู้ป่วย

1.2. การให้โภชนบำบัด เป็นการให้อาหารทางปากหรือทางสายยาง

1.3. วัตถุประสงค์ของการให้โภชนบำบัด

1.3.1. 1.ป้องกันการกำเริบของโรค

1.3.2. 2.งดอาหารที่ผู้ป่วยเคยแพ้

1.3.3. 3.ให้สารอาหารอย่างเพียงพอ

1.3.4. 4.ให้อวัยวะที่ผิดปกติได้พักการทำงาน

1.3.5. 5.ช่วยให้ร่างกายสามารถย่อยและดูดซึมสารอาหาร

1.3.6. 6.ควบคุมน้ำหนัก

1.3.7. 7.กำลังและส่งเสริมโภชนาการ

1.3.8. 8.ดัดแปลงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วย

1.4. ความสำคัญและบทบาทของอาหารต่อการบำบัดโรค

1.4.1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสม

1.4.2. 2.ส่งเสริมการรักษาทางการแพทย์ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น

1.4.3. 3.เพื่อบรรเทาอาการที่เป็นอยู่ให้ลดความรุนแรงลง

1.4.4. 4.เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อน

1.4.5. 5.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล

2. การคำนวณความต้องการพลังงาน แนวทางการบริโภคที่เหมาะสม

2.1. 1.พลังงานที่ต้องการขั้นพื้นฐาน

2.1.1. เป็นพลังงานที่ต้องใช้ในขณะพักผ่อน ทั้งร่างกายและสมองหลังกินอาหารมาแล้ว 10-12 ชั่วโมง

2.2. 2.พลังงานที่ใช้ในการทำงานและประกอบกิจกรรมต่างๆ

2.2.1. เป้นพลังงานที่ต้องใช้ในขณะร่างกายทำกิจกรรมต่างๆ ที่อยู่ภายใต้การบังคับของจิตใจ เช่น การเดิน การออกกำลังกาย

2.3. 3.พลังงานที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงอาหารภายในร่างกาย

2.3.1. พลังงานที่ต้องใช้ในย่อย ดูดซึมอาหารภายในระยะเวลา 1-4 ชั่วโมง หลังการบริโภคอาหาร

2.4. 4.พลังงานที่ขับของเสียออกจากร่างกาย

2.4.1. พลังงานที่ต้องใช้ในการขับของเสียหรือปัสสาวะ และอุจจาระออกจากร่างกาย

2.5. หลักในการบริโภคอาหารทางโภชนาการ

2.5.1. ต้องการบริโภคอาหารเพื่อให้ได้ปริมาณและคุณค่าอาหารอย่างเพียงพอ โดยที่สารอาหารต่างที่ได้รับมีความสมดุลกัน เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย โดยใช้หลักโภชนบัญญัตื 9 ประการ ธงโภชนาการ

2.5.2. โภชนบัญญัติ 9 ประการ ได้แก่

2.5.2.1. 1.กินอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย(ตามธงโภชนาการ) และหมั่นดูแลน้ำหนักตัว

2.5.2.2. 2.กินข้าวเป้นอาหารหลัก สลับกับประเภทแป้งเป็นบางมื้อ

2.5.2.3. 3.กินพืช ผัก ให้มากและกินผลไม้เป็นประจำ

2.5.2.4. 4.กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ

2.5.2.5. 5.ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย

2.5.2.6. 6.กินอาหารที่มีไขมัน แต่พอควร

2.5.2.7. 7.หลีกเลี่ยงกินอาหารที่มีรสหวานจัด และเค็มจัด

2.5.2.8. 8.กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน

2.5.2.9. 9.ลดหรืองดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

3. นางสาว วนาลี ปันสม เลขที่ 70