Unlock the full potential of your projects.
Try MeisterTask for free.
Non hai un account?
Iscriviti gratis
Naviga
Mappe in primo piano
Categorie
Gestione del progetto
Affari e obiettivi
Risorse umane
Brainstorming e analisi
Marketing e contenuti
Istruzione e note
Intrattenimento
Vita
ICT
Design
Sintesi
Altro
Lingue
English
Deutsch
Français
Español
Português
Nederlands
Dansk
Русский
日本語
Italiano
简体中文
한국어
Altro
Mostra mappa intera
Copia ed edita mappa
Copia
บทที่3 การปกครองท้องถิ่นไทย
Altro
นาตยา มูลชาติ
Seguire
Iniziamo.
È gratuito!
Iscriviti con Google
o
registrati
con il tuo indirizzo email
Mappe mentali simili
Schema mappa mentale
บทที่3 การปกครองท้องถิ่นไทย
da
นาตยา มูลชาติ
1. ความเป็นมาของการบริหารราชการแผ่นดินไทย
1.1. การบริหารราชการแผ่นดินก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี พศ.2547
1.2. การบริหารราชการแผ่นดินของไทยในปัจจุบัน มีการวิวัฒนาการจากการปฏิรูปการบริหารแผ่นดินครั้งใหญ่ในยุค ร.5ได้ทรงวางรากฐานการบริหารใหม่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
1.3. การปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินในสมัยรัชกาลที่ 5 จีงเป็นการวางรากฐานสำคัญของการจัดระเบียบการบริหารใาระยะต่อมา
1.4. การบริหารราชการแผ่นดินหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2575
1.5. 1.)การบริหารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติว่าด้วยราชการบริหารแห่งราขอาณาจักรสยาม พ.ศ 2475
1.6. 2.)การบริหารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ 2595
1.7. 3.)การบริหารราชการแผ่นดินตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับ 218
1.8. 4.)การบริหารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ 2537
2. การบริหารราชการแผ่นดินในปัจจุบัน
2.1. ตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน(พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ 2534)ประกอบด้วย ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น
2.2. ระเบียบการบริหารส่วนกลาง ได้แก่ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง กรม
2.3. ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน
2.4. ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อ.บ.จ เทศบาล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร
3. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับการบริหารราชการขององค์กรปกครองท้องถิ่น
3.1. 1.)ความสัมพันธ์ในเชิงการจัดภาระกิจระหว่างภาระกิจของรัฐ จำแนกได้เป็น 3ประเภท คือ
3.2. (1.1)ภารกิจทางการปกครอง คือ การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การป้องกัน ฯ
3.3. (1.2)ภารกิจทางเศรษฐกิจ คือ การให้บริการสาธารณะทางอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ฯลฯ
3.4. (1.3)ภารกิจทางสังคม คือ การให้บริการสาธารณะทางสังคม เช่น การให้บริการการศึกษา
3.5. 2.)ภารกิจท้องถิ่น ลักษณะของสภาพชุมชน รัฐไม่สามารถเข้าไปดูแลถึงได้
3.6. 3.)ความสัมพันธ์ในเชิงควบคุม กำกับ ดูแล แบ่งเป็น2ประเภท
3.7. (3.1)การควบคุมกำกับโดยตรง แบ่งออกเป็น 1.การควบคุมกำกับตัวบุคคลหรือองค์กร 2.การควบคุมกำกับการกระทำ
4. ความเป็นมาของการปกครองท้องถิ่นไทย
4.1. พ.ศ. 2440 ร.5 จัดตั้งการปกครองท้องถิ่น "สุขาภิบาล"
4.2. พ.ศ. 2453-2468 พรบ.สุขาภิบาล แบ่งออกเป็น 2 ประเทศ คือ สุขาภิบาลเมือง และสุขาภิบาลตำบล
4.3. พ.ศ. 2540 พรบ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
4.4. พ.ศ. 2542 ยกเลิก พรบ.สุขาภิบาล พ.ศ.2495
Comincia. È gratis!
Connetti con Google
o
Registrati