ระบบคอมพิวเตอร์

Iniziamo. È gratuito!
o registrati con il tuo indirizzo email
ระบบคอมพิวเตอร์ da Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. 3. ซอฟต์แวร์

1.1. 3.1ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ

1.2. 3.1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages) คือ เลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดค าสั่งและใช้สั่งงาน คอมพิวเตอร์การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที3.1.2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลียังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากโดยใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์

1.3. 3.1.3 ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 ชุดค าสั่งมีลักษณะ เป็นประโยคภาษาอังกฤษ ท าให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดค

1.4. 3.1.2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลียังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากโดยใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์

1.5. 3.1.4 ภาษายุคที่4 (Fourth-Generation Languages: 4GL) เป็นภาษาที่ไม่ต้องก าหนดขั้นตอนการ ท างาน(Non-Procedural) เพียงแต่สั่งว่าต้องการข้อมูลอะไร

1.6. 3.2 ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท

1.7. 3.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง

1.8. 3.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง

1.9. 3.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถ น ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม

2. 4. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1. 4.1 หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1.1. 4.1.1 เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน

2.2. 4.1.2 การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์

2.2.1. 1. ไมโครคอมพิวเตอร์

2.2.2. 2. มินิคอมพิวเตอร์

2.2.3. 3. เมนเฟรม

2.3. 4.2 การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2.3.1. 1. ตรงกับความต้องการ สามารถท างานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 2. มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง 3. ง่ายต่อการใช้งาน สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่ายและมีเมนูช่วยเหลือในระหว่างการใช้งาน 4. มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน สามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรม อื่น ๆ ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ 5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ สามารถอธิบายหรือให้ค าแนะน าต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น 6. การรับรองผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน มีบริการให้ค าปรึกษาเมื่อมีปัญหา

3. 1. องค์ประกอบและหลักการท างานของคอมพิวเตอร์

3.1. ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

3.2. ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

3.3. บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์

4. 2. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

4.1. 2.1 หน่วยรับข้อมูล อุปกรณ์รับเข้ามีหลายประเภท แต่ละประเภทมีวิธีการในการน าเข้าข้อมูลที่ต่างกัน สามารถแบ่ง ประเภทของอุปกรณ์รับเข้าตามลักษณะการรับข้อมูลเข้าได้ดังนี้

4.2. 1) ปากกาแสง(Light pen) เป็นอุปกรณ์ที่ไวต่อแสงที่สามารถท าหน้าที่เหมือนเมาส์ในการชี้ต าแหน่งบนจอภาพหรือท างาน กับรายการเลือกและสัญรูปเพื่อสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ ปลายข้างหนึ่งของปากกาแสงจะมีสายเชื่อมต่อเข้า กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อมีการแตะปากกาที่จอภาพข้อมูลจะถูกส่งผ่านสายนี้ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ท

4.3. 2) เครื่องอ่านพิกัด(Digitizing tablet) หรือ แผ่นระนาบกราฟิก(graphic tablet) เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่มีส่วนประกอบ2 ชิ้น ได้แก่ กระดานแบบสี่เหลี่ยมที่มีเส้นแบ่งเป็นตาราง ของเส้นลวดที่ไวต่อสัมผัสสูง และปากกาที่ท าหน้าที่เป็นตัวชี้ต

4.4. 2) เครื่องกราดตรวจ(Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถน าเข้าข้อมูลที่เป็นรูปภาพหรือข้อความที่ อยู่บนสิ่งพิมพ์ได้โดยใช้หลักการสะท้อนแสง ข้อมูลที่รับเข้าจะเป็นรูปภาพที่ได้รับการแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและตีความได้

4.5. 3) กล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Digital camera) เป็นกล้องถ่ายภาพที่เก็บภาพเป็นข้อมูลดิจิตอลและ สามารถน าภาพที่เป็นข้อมูลดิจิตอลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้

4.6. 2.2 หน่วยประมวลผลกลาง หน่ ว ยป ร ะ ม ว ล ผ ล กล าง ( Central Processing Unit : CPU) ห รือไ มโ ค รโพ รเ ซ ส เ ซอ ร์ ของ ไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่น าค าสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจ ามาแปลความหมายและกระท าตาม ค าสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ซึ่งแทนได้ด้วยรหัสเลขฐานสอง

4.7. 1) หน่วยควบคุม(Control Unit : CU) ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล ระหว่างหน่วยความจ าของซีพียูควบคุมกลไกการท างานทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณ นาฬิกาเป็นตัวก าหนดจังหวะการท

4.8. 2) หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) ท าหน้าที่ค านวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อท าการตัดสินใจ การท างานของหน่วยนี้จะรับ ข้อมูลจากหน่วยความจ ามาไว้ในที่เก็บชั่วคราวของเอแอลยูซึ่งเรียกว่าregister

4.9. 2. สัญญาณภายนอกซีพียู เป็นสัญญาณที่ให้จังหวะในการท างานแก่บัสที่ซีพียูใช้รับส่งข้อมูลกับ หน่วยความจ า โดยบัสที่เชื่อมต่อระหว่างซีพียูกับหน่วยความจ านี้จะเรียกว่า Front Side Bus (FSB)

4.10. 3. หน่วยความจ าแคช(Cache memory) คือส่วนที่ท าหน้าที่เก็บข้อมูลหรือค าสั่งที่ซีพียูมักมีการ เรียกใช้งานบ่อยๆ เพื่อลดการท างานระหว่างซีพียูกับหน่วยความจ าหลัก หน่วยความจ าแคช ในปัจจุบันมี ความเร็วเท่ากับความเร็วของซีพียูและบรรจุอยู่ภายในซีพียู มีอยู่2 ระดับ คือแคชระดับ1(L1