ทบทวนวรรณกรรม

Iniziamo. È gratuito!
o registrati con il tuo indirizzo email
ทบทวนวรรณกรรม da Mind Map: ทบทวนวรรณกรรม

1. ความหมาย

1.1. งานหนังสือ งานนิพนธ์ นำเสนอในรูปแบบต่างๆๆ

1.1.1. ตำรา

1.1.2. หนังสือ

1.1.3. จุลสาร

2. วรรณกรรมในงานวิจัย

2.1. เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด/ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่มีเนี้อหาสัมพันธ์เรื่องที่ทำการวิจัย

3. การทบทวนวรรณกรรม

3.1. ความสำคัญ

3.1.1. 1.หาความจริง 2.เพื่อให้เลือกสรรปัญหา 3.ช่วยในการนิยามปัญหา 4เพื่อหลีกเลี่ยงการวิจัยซ้ำซ้อน

3.1.2. 5.เพื่อหาเทคนิคในการวิจัย 6.ช่วยในการแปลความหมายข้อมูล 7.เพื่อเตรียมการเขียนรายงาน

3.2. ความหมาย

3.2.1. เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี วิธีการวิจัยและปัญหาวิจัยในประเด็นปัญหาที่ผู้วิจัยศึกษา

3.3. ประโยชน์

3.3.1. 1.ทำให้ไม่ทำวิจัยซ้ำกับผู้อื่น 2.ทำให้ทราบถึงอุปสรรค์ 3.ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบพิจารณา

3.4. ขั้นตอน

3.4.1. 1.ค้นหาวรรณกรรม จัดลำดับตามความทันสมัย 2.สรุปย่อข้อมูลวรรณกรรมตามประเด็นที่วิจัย 3.เรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรมใหม่โดยใช้ภาษาซึ่งเป็นของผู้วิจัยเอง

4. การค้นหาวรรณกรรม

4.1. ขั้นตอนที่ 1

4.1.1. หลักในการค้นหาวรรณกรรม

4.1.2. แหล่งข้อมูลเพื่อการทบทวน

4.1.3. ที่มาของข้อมูล

5. การค้นหาวรรณกรรม

5.1. หลักในการค้นหาวรรณกรรม

5.1.1. แหล่งข้อมูลเพื่อการทบทวน

5.1.1.1. หนังสือ ดรรชนีวารสาร พจนานุกรม สารานุกรม บทคัดย่อ วารสาร วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย

5.1.1.1.1. New Topic

5.1.2. 1.เอกสารงานวิจัยมีความเกี่ยวข้องกัน 2.ปริญญานิพนธ์นำเสนอเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.ควรมีเหตุผลในการนำเสนอเอกสาร 4.ผลของการวิจัยขัดแย้งกัน 5.งานวิจัยเหมือนกัน

6. ที่มาของแหล่งข้อมูล

6.1. 1ห้องสมุด ร้านหนังสือ 2ข้อมูลอิเล็กทรอนิกช์ 3ข้อมูล0nline

6.1.1. ข้อมูล0nline Database

6.1.1.1. -Emerald -ScienceDirect -Education Research -lEEE Xplopre -MEDLNE

7. ระดับความน่าเชื่อถือ

7.1. 1ความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มา

7.2. 2.ความน่าเชื่อถือของประเภทวรรณกรรมปฐมภูมิ>ทุติยภูมิ

7.3. 3.ความน่าเชื่อถือของเจ้าของวรรณกรรม

7.4. 4.ความน่าเชื่อถือในสำนักพิมพ์

8. ขั้นตอนที่2 สรุปย่อข้อมูลวรรณกรรม

8.1. การอ่านและวิเคราะห์งานวิจัย

8.1.1. หลักการ แนวคิด หรือทฤษฏีที่ใช้ในการวิจัย วัตถุประสงค์คืออะไร

8.1.2. ระเบียบวิธีการวิจัย กลุ่มประชากรและการได้มาของตัวอย่าง

8.1.3. ข้อสรุปและข้อเสนอแนะแต่ละงานวิจัยให้ผลสรุปอย่างไร ผลการวจัย

8.2. วิธีการบันทึกเนื้อหาที่สำคัญ

8.2.1. บันทึกลงบัตรบันทึก

8.2.2. ทำตารางสรุปจดบันทึกในกระดาษ

8.2.3. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการจัดการทางบรรณานุกรม

8.3. การบันทึกโดยใช้บัตรบันทึก

8.3.1. การจดบันทึกลงบัตรหรือ

9. ขั้นตอนที่ 3

9.1. เรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรม

9.1.1. หลักการเรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรม

9.1.2. วิธีการเขียนวรรณกรรม