Unlock the full potential of your projects.
Try MeisterTask for free.
Non hai un account?
Iscriviti gratis
Naviga
Mappe in primo piano
Categorie
Gestione del progetto
Affari e obiettivi
Risorse umane
Brainstorming e analisi
Marketing e contenuti
Istruzione e note
Intrattenimento
Vita
ICT
Design
Sintesi
Altro
Lingue
English
Deutsch
Français
Español
Português
Nederlands
Dansk
Русский
日本語
Italiano
简体中文
한국어
Altro
Mostra mappa intera
Copia ed edita mappa
Copia
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ
Altro
Supaporn Yangsom
Seguire
Iniziamo.
È gratuito!
Iscriviti con Google
o
registrati
con il tuo indirizzo email
Mappe mentali simili
Schema mappa mentale
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ
da
Supaporn Yangsom
1. 5.ประเภทข้อมูล
1.1. 1. การจำแนกตามลักษณะของข้อมูลแบ่งได้ เป็น 2 ปะเภท 1.1 ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถ ระบุค่าเป็นตัวเลขได้ 2.2 ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นข้อมูลที่วัดค่า ออกมาป็นตัวเลข 2. จำแนกตามแหล่งที่มาของ ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภท 2.1 ข้อมูลปฐมภูมิเป็นข้อมูลที่เก็บจาก แหล่งข้อมูลโดยตรง 2.2 ข้อมูลทุติยภูมิเป็นข้อมูลที่ได้จาก แหล่งที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว 3. จำแนกตามมาตราวัด 3.1 มาตรานามบัญญัติเป็นมาตราวัดระดับสูงสุดต่ำคุณสุดสัญลักษณ์ หรือตัวเลขไม่มีความสามารถหมายในห้างหุ้นส่วนจำกัดเชิงปริมาณเป็นเพียงหัวเรื่อง: การจำแนกออกประเภทเท่านั้น 3.2 มาตราเรียงลำดับเป็นมาตราวัดที่จำแนก Thailand ข้อมูลออกเป็น กลุ่มโดยเป็นการเรียงลำดับสิ่งต่างๆตามลักษณะคุณหนึ่ง ๆ 3.3 มาตรา ความแตกต่างต่างประเทศ กันได้อย่างชัดเจนค่าที่ได้จากการวัดสามารถนำมาบวกลบกันได้ แต่นำมาคูณหรือหารไม่ได้ 3.4 จำนวนเงินที่เป็นศูนย์ของแท้ซึ่ง หมายถึง0 หมายถึงไม่มีอะไร ลบคูณหารได้
2. 6. เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง
2.1. 6. เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง 6.1 การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น เป็นการเลือกตัวอย่างโดยยึดความสะดวก หรือความเป็นไปได้ของสิ่งแวดล้อม 6.2 การสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น คือ การที่ ทุกหน่วยของประชากรมีโอกาสได้รับเลือกขึ้นมาเป็นตัวอย่างเท่ากันหมด 6.3 การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เป็นวิธีการเลือกตัวอย่างที่ง่ายที่สุดโดยให้แต่ละหน่วยในประชากรมีโอกาสได้รับเลือกเป็นตัวอย่างเท่าๆ กัน 6.4 การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ 6.5 การสุ่มตัวอย่างแบบชั้น ภูมิเป็นการสุ่ม ตัวอย่างโดยการแบ่งสมาชิกในประชากรออกเป็นประชากรย่อยอย่างน้อย 2 กลุ่มประชากรย่อย เรียกว่าแบ่งประชากรออกเป็นชั้น 6.6 การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยทำการแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่ม
3. 7 ขั้นตอนการดำเนินงานทางสถิติ
3.1. ขอบข่ายของระเบียบวิธีทางสถิติ จะเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานใน 4 ขั้นตอนหลัก คือ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมา วิเคราะห์ ซึ่งอาจจะประกอบด้วยข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และเป็นข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถเก็บได้จาก 1. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากงานทะเบียนหรือการบันทึก 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจได้แก่ 2.1 การสำมะโน เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกๆหน่วยในประชากรที่ทำการศึกษา 2.2 การสำรวจตัวอย่าง เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากพียงบางหน่วยของประชากร เพื่อที่จะได้ตัวแทนที่ดีของประชากร เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย 3. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการทดลอง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถทำได้ หลายวิธี เช่น การสัมภาษณ์ การส่งไปรษณีย์ การตอบแบบสอบถาม โทรศัพท์การชั่ง ตวง วัด นับ การสังเกต
4. 1.ความหมายของสถิติ
4.1. คือ ตัวเลขหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่รวบรวมได้หรือศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการที่ใช้ในการศึกษาข้อมูล
5. 2. ขอบเขตและเนื้อหาสถิติ
5.1. แบ่งออกได้เป็น2ประเภท 2.1 สถิติพรรณนา คือ วิธีการทางสถิติที่เกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.2 สถิติอนุมาน คือ วิธีการทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงที่รวบรวมมาได้
6. 3.นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
6.1. -ประชากร คือ หน่วยทุกหน่วยที่เราสนใจจะทำการศึกษา เช่น คน สัตว์ สิ่งของ -ตัวอย่าง คือ หน่วยย่อยของประชากรที่จะให้ข้อเท็จจริงต่างๆที่เราสนใจศึกษา -ค่าสถิติ คือ ค่าที่คำนณได้จากข้อมูลที่เป็นตัวอย่าง เป็นตัวบ่งชี้ถึงลักษณะของตัวอย่าง
7. 4.บทบาทของสถิติสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆดังนี้
7.1. -ด้านธุรกิจ ต้องมีข้อมูลพื้นฐานการพยากรณ์ทั้งภายในองค์กรเพื่อใช้ในการวางแผนระยะสั้น -ด้านเศรษฐศาสตร์ ต้องใช้เทคนิควิธีการทางสถิติ ทฤษฎีการมาตัดสินใจช่วย -ด้านการเกษตร เป็นการวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืช สัตว์ เพื่อให้มีผลผลิตสูงขึ้น -ด้านการศึกษา สถิติการศึกษามีความสำคัญต่อการกำหนดนโยบายและวางแผน -ด้านวิทยาศาสตร์ ใช้สถิติในงานวิเคราะห์ วิจัย -ด้านอุตสาหกรรม ผลิตสินค้าเพื่อบริโภคภายในประเทศ -ด้านสาธารณสุข การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีสุขภาพที่ดีหน่วยงานของรัฐและเอกชน จำเป็นต้องใช้ข้อมูลสถิติสาธารณสุข -ด้านการเมืองการปกครอง ใช้ในการสำรวจประชามติ ทำให้ทราบถึงสภาพความเป็นจริงสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการของสังคม
Comincia. È gratis!
Connetti con Google
o
Registrati