Iniziamo. È gratuito!
o registrati con il tuo indirizzo email
URINARY TRACT INFECTION da Mind Map: URINARY TRACT INFECTION

1. การวินิจฉัย

1.1. ซักประวัติ

1.1.1. 2 วันก่อนมารพ. ผู้ป่วยมีปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะขุ่น มีไข้ต่ำ ๆ มีปวดท้องน้อย ปวดอวัยวะเพศ

1.1.2. 3 ชั่วโมงก่อนมารพ. ผู้ป่วยปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะมีตะกอนสีแดง ปัสสาวะขุ่น มีไข้ หนาวสั่น ถ่ายเหลว 4 ครั้ง เป็นสีดำ

1.2. ตรวจร่างกาย

1.2.1. ระบบทางเดินปัสสาวะและสืบพันธุ์ : ปัสสาวะแสบขัด

1.2.2. ระบบทางเดินอาหาร : ถ่ายเหลว

1.2.3. ระบบอื่นๆ : มีไข้

1.3. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.3.1. CBC

1.3.1.1. Lymph 14.8 %

1.3.1.1.1. ต่ำกว่าปกติอาจเกิดจากร่างกายอาจถูกโจมตีโดยไม่รู้ตัวจากเชื้อบางชนิด

1.3.1.2. Mono 9.8 %

1.3.1.2.1. สูงกว่าปกติ อาจเกิดจากการติดเชื้อบางชนิด

1.3.1.3. Eos 0.2 %

1.3.1.3.1. ต่ำกว่าปกติ อาจกำลังเกิดการอักเสบจากพยาธิบางชนิด

1.3.2. Lab Test

1.3.2.1. Na 132mmol/L

1.3.2.1.1. ต่ำกว่าปกติ อาจมีโรคของไต ที่ท่าให้ดูดกลับโซเดียมไม่ได้อย่างที่ควรกระทำ

1.3.2.2. Potassium 8.3mmol/L

1.3.2.2.1. สูงกว่าปกติอาจเกิดจากความผิดปกติของไต เช่น ไตวายเฉียบพลัน โรคไตเรื้อรัง

1.3.2.3. Creatinine 1.56mg/dl

1.3.2.3.1. สูงกว่าปกติ อาจมีเหตุสำคัญ หรือโรคร้ายแรงภายในไต หรือเกิดขึ้นที่ไตโดยตรง

1.3.2.4. GFR 38.534mL/min/1.73m2

1.3.2.4.1. ต่ำกว่าปกติอยู่ในระยะที่ 5 ค่า GFR < 15 มล./นาที เป็น ระยะสุดท้ายที่ถือว่าไตพังไป แล้วเรียบร้อย

1.3.3. URINE ANALYSIS

1.3.3.1. WBC 30-50cells/HPF

1.3.3.1.1. สูงกว่าปกติ อาจเกิดจาก การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (UTI) เช่น กระเพาะปัสสาวะอักเสบ กรวยไตอักเสบ หรืออาจเกิดจากการมีนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ

1.3.3.2. RBC 50-100 cells/HPF

1.3.3.2.1. สูงกว่าปกติ อาจเกิดจาก ความผิดปกติที่ไต ความผิดปกติของหน่วยไต และความผิดปกติในระบบทางเดินปัสสาวะ

2. ภาวะแทรกซ้อน

2.1. กระเพาะปัสสาวะอักเสบ

2.1.1. ในผู้ป่วยบางรายอาจเป็น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง หากไม่ได้รับการรักษา เชื้อโรคอาจลุกลามขึ้นไปที่ไต ทำให้เป็นกรวยไตอักเสบ และหากปล่อยให้เป็นเรื้อรังก็อาจทำให้เกิดภาวะไตวายเรื้อรังแทรกซ้อนได้ ส่วนในผู้ชาย เชื้ออาจลุกลามทำให้ต่อมลูกหมากอักเสบ

2.2. ท่อปัสสาวะอักเสบ

2.2.1. มีอาการแทรกซ้อนที่สำคัญ เช่น ต่อมลูกหมากอักเสบ เป็นฝีรอบ ๆ บริเวณท่อปัสสาวะ และกระเพาะปัสสาวะอักเสบ

2.3. กรวยไตอักเสบ

2.3.1. หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที เชื้ออาจลุกลามเข้ากระแสเลือด กลายเป็นภาวะโลหิตเป็นพิษ ซึ่งอาจเป็นอันตรายร้ายแรงได้

2.4. มีการติดเชื้อซ้ำ

2.4.1. หากผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสม

2.5. เกิดความเสียหายที่ไตอย่างถาวร

2.5.1. จากการติดเชื้อในไตทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง (กรวยไตอักเสบ)

2.6. เกิดการตีบแคบที่ท่อปัสสาวะ

2.6.1. โดยจะเกิดในผู้ชายที่มีการเกิดซ้ำของท่อปัสสาวะ อักเสบ

2.7. เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย

2.7.1. อาจทำให้เกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด (sepsis) โดยเฉพาะในกรณีที่ติดเชื้อบริเวณไต (urosepsis) ซึ่งมีอันตรายถึงแก่ชีวิต

3. การพยาบาล

3.1. ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์

3.2. ดูแลให้ได้รับการทำความสะอาดของอวัยวะเพศให้สะอาดอยู่เสมอ

3.3. วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง

3.4. เช็ดตัวลดไข้

3.5. แนะนำให้ไม่กลั้นปัสสาวะ

3.6. แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆ 2,000-3,000 ml/day

4. อาการและอาการแสดง

4.1. ผู้ป่วยมีปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะมีตะกอนสีแดง ปัสสาวะขุ่น มีไข้ หนาวสั่น ถ่ายเหลว 4 ครั้ง เป็นสีดำ

5. การรักษา

5.1. ยา -7.5% NaHco3 50 ml V push -CEF3-Ceftriaxone ing-1gm IV OD -Tramol 50 mg 1×3 pc

5.1.1. 7.5% NaHco3

5.1.1.1. ข้อบ่งใช้ รักษาภาวะเลือดเป็นกรด ปรับปัสสาวะให้เป็นด่าง บรรเทาอาการอาหารไม่ย่อย

5.1.1.2. กลไกการออกฤทธิ์ เป็นสารละลายมีฤทธิ์เป็นด่าง มีส่วนประกอบคือโซเดียมและไบคาร์บอเนต เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะทำำหน้าที่เพิ่มความเป็นด่างในร่างกายเพิ่มปริมาณโซเดียมและไบคาร์บอเนต เสริมกับไบคาร์บอเนตซึ่งร่างกายสร้างขึ้นที่ไต โซเดียมไบคาร์บอเนตมีการขับออกทางปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะมีความเป็นด่างมากขึ้น

5.1.2. Tramol

5.1.2.1. ข้อบ่งใช้ รักษาอาการปวดระดับปานกลางถึงรุนแรงในผู้ใหญ่

5.1.2.2. กลไกการออกฤทธิ์ ออกฤทธิ์ระงับปวดปลายประสาท โดยออกฤทธิ์ยับยั้งตัวเก็บกลับสารสื่อประสาท (transporter) ชนิดซีโรโธนิน(serotonin) และ นอร์อีพิเนฟริน (norepinephrine) ที่บริเวณปลายประสาท ทำให้บริเวณปลายประสาทมีปริมาณสารสื่อประสาททั้งสองชนิดเพิ่มขึ้น จึงสามารถลดอาการปวดได้

5.1.3. CEF3-Ceftriaxone

5.1.3.1. ข้อบ่งใช้ รักษาการติดเชื้อ

5.1.3.2. กลไกการออกฤทธิ์ ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียด้วยการทำลายผนังเซลล์ทำให้แบคทีเรียตาย