ทฤษฎีพัฒนาการ. (Development Theory)

Iniziamo. È gratuito!
o registrati con il tuo indirizzo email
ทฤษฎีพัฒนาการ. (Development Theory) da Mind Map: ทฤษฎีพัฒนาการ. (Development Theory)

1. ทฤษฎีพัฒนาการทาสติปีญญาของเพียเจต์

1.1. พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นเป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปอีกขั้นหนึ่ง ไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจำทำให้เกิดผลเสียเเก่เด็ก เเต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่าสามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว

1.2. การนำไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน

1.2.1. 1.การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนควรดำเนินการดังต่อไปนี้ -ถามคำถามมากกว่าการให้คำตอบ -ครูผู้สอนควรจะพูดให้น้อยลง และฟังให้มากขึ้น -ควรให้เสรีภาพแก่นักเรียนที่จะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ -ยอมรับความจริงที่ว่า นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน

1.2.2. 2.ในขั้นประเมินผล ควรดำเนินการสอนต่อไปนี้ -มีการทดสอบแบบการให้เหตุผลของนักเรียน -พยายามให้นักเรียนแสดงเหตุผลในการตอนคำถามนั้น ๆ -ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมีพัฒนาการทางสติปัญญาต่ำกว่าเพื่อร่วมชั้น

2. ทฤษฎีทางสติปัญญาของบรุนเนอร์

2.1. เน้นความสำคัญของสิ่งเเวดล้อม วัฒนธรรมที่มีผลต่อการพัฒนาทางสติเเละปัญญา

2.1.1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีอิสระ ได้มีความคิดสร้างสรรค์ มีส่วนร่วมในกิจกรรม

2.2. แนวคิดการเรียนรู้ด้วยการค้นพบด้วยตัวเอง

2.2.1. สร้างเเรงจูงใจให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ อยากทดลอง ลงมือทำ

2.3. การจัดทำสื่อการเรียนการสอนเพื่อกระตุ้น เด็กให้เข้าใจเเละเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว

2.3.1. โครงสร้างบทเรียนต้องให้สอดคล้องเหมาะสมกับผู้เรียน

2.3.2. การสอนความคิดรวบยอด สรุปให้กับผู้เรียน เป็นสิ่งจำเป็น

3. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์

3.1. พฤติกรรมของบุคคลเป็นผลมาจากแรงจูงใจหรือแรงขับพื้นฐานที่กระตุ้นให้บุคคลมีพฤติกรรม คือ สัญชาตญาณทางเพศ 2 ลักษณะคือ 1. สัญชาตญาณเพื่อการดำรงชีวิต 2. สัญชาตญาณเพื่อความตาย

3.2. ทฤษฎีพัฒนาการทางเพศของซิกมันด์ฟรอยด์

3.2.1. 1. เราสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เด็กมีการพัฒนาการด้านบุคลิกภาพที่เหมาะสมได้ เพราะหากเด็กมีปัญหาในแต่ละขั้นของพัฒนาการก็จะมีบุคลิกภาพผิดปกติ เช่น เด็กเกิดการชะงักที่ขั้นปาก ก็จะส่งผลต่อเด็กเมื่อโตขึ้น เช่น สูบบุหรี่

3.2.2. 2. ในขั้นอวัยวะเพศ เด็กเริ่มมีการสนในและเรียนรู้เรื่องของแตกต่างด้านเพศ เพราะฉะนั้นต้องให้ความรู้ด้านเพศที่ถูกต้องแก่เด็ก หากเด็กไม่ได้รับความรู้ที่ถูกต้อง หรือขาดต้นแบบที่ดีอาจทำให้เด็กเกิดการสับสนทางเพศ

3.2.3. 3. ครูผู้สอนสามารถนำทฤษฎีมาประยุกต์ใช้โดยการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศที่ถูกต้อง -เริ่มมีการสอนในเรื่องของบทบาทในสังคมที่ถูกต้อง -ในขั้นของเพศครูก็ควรหากิจกรรมเสริมต่างๆ ให้นักเรียนได้ทำ เช่น กิจกรรมกีฬา กิจกรรมดนตรี เป็นต้น เพื่อไม่ให้เด็กหมกมุ่นแต่ในเรื่องเพศ

4. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของกีเซลล์

4.1. ทฤษฎีวุฒิภาวะ

4.1.1. วุฒิภาวะเป็นปรากฏการณ์ที่กำเนิดขึ้นตามธรรมชาติอย่างมีระเบียบโดยไม่เกี่ยวโยงกับสิ่งเร้าภายนอก

4.2. เกณฑ์พัฒนาการ

4.2.1. พฤติกรรมทางการเคลื่อนไหว

4.2.2. พฤติกรรมทางการปรับตัว

4.2.3. พฤติกรรมทางด้านภาษา

4.2.4. พฤติกรรมทางสังคม-ตัวบุคคล

4.2.5. New Topic

4.3. ทฤษฎีพัฒนาการ

4.3.1. 1.ทิศทางของพัฒนาการ

4.3.1.1. พัฒนาการอวัยวะเคลื่อนไหวอย่างมีระเบียบตามเเนวนอนเเละเเนวขวาง

4.3.2. 2.การพัฒนาตามเเนวนอนเเละเเนวขวาง

4.3.2.1. เเนวนอน ร่างกายเจริญตามีเเนวนอนจากบนส่วนศีรษะลงส่วนล่างของร่างกาย

4.3.2.2. เเนวขวาง ร่างกายเจริญจากกลางลำตัวออกไปด้านข้าง

4.3.3. 3.พัฒนาการมีความสัมพันธ์กัน

4.3.3.1. ถ้าพฤติกรรมชนิดหนึ่งเจริญสูงอยู่อีกอย่างจะหยุดชะงัก

4.3.4. 4.พัฒนาการมีการใช้กิจกรรมร่วมกัน

4.3.4.1. การเปลี่ยนแปลงจากกิจกรรมรวมไปสู่กิจกรรมเฉพาะ

4.3.5. 5.การพัฒนาต่างๆล้วนเป็นผลมาจากวุฒิภาวะ

4.3.5.1. การเจริญเติบโตไม่เท่ากัน หรือไม่เหมือนกัน เกิดจากความเเตกต่างของวุฒิภาวะ

4.4. การนำมาใช้

4.4.1. คำนึงให้เหมาะสมกับวุฒิภาวะของเด็ก จะดีเมื่อเด็กมีความพร้อม อย่าบังคับเด็กขณะไม่มีความพร้อมจะก่อให้เกิดผลเสียมากกว่าเด็กที่มีความพร้อม

5. ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก

5.1. พัฒนาการ

5.1.1. 1.เริ่มมีจริยธรรม(อายุ2-10ปี)ทำตามสังคมกำหนดว่าดีหรือไม่ดีและมองผลการกระทำว่าได้รับความเจ็บปวดหรือพึงพอใจและจะทำตามกฎเกณฑ์ของผู้มีอำนาจ

5.1.1.1. ระดับการพัฒนาการ

5.1.1.1.1. ขั้นที่1(2-7ปี) เคารพเพื่อหลีกการลงโทษ

5.1.1.1.2. ชั้นที่2(7-10ปี) แสวงหารางวัล ความพอใจเท่านั้น สิ่งที่ตอบสนองความต้องการของตนเอง

5.1.2. 2.มีจริยธรรมตามกฎเกณฑ์และประเมินนิยม(อายุ10-16ปี)เริ่มทำตามความคาดหวังของครอบครัว สังคมและประเทศชาติ เป็นคนด้อยโอกาส หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่สังคมไม่ยอมรับ

5.1.2.1. ระดับพัฒนาการ

5.1.2.1.1. ขั้นที่3(10-13ปี)ทำตามผู้เห็นชอบ

5.1.2.1.2. ขั้นที่4(13-16ปี)ทำตามหน้าที่ทางสังคม

5.1.3. 3.มีจริยธรรมของตนเองอายุ16ปีขึ้นไปพยายามทำต่างไปจากกฎเกณฑ์สังคม

5.1.3.1. ระดับพัฒนาการ

5.1.3.1.1. ขั้นที่5 (16ปีขึ้นไป)คำนึงกฎที่เป็นประโยชน์ของสังคมและยอมรับกฎประชาธิปไตย

5.1.3.1.2. ขั้นที่6 (วัยผู้ใหญ่)จะตัดสินความถูกผิดจากสามัญสำนึกของตนเอง

5.2. การนำไปใช้ในการเรียนการสอน

5.2.1. พยายามสอนเด็กให้เด็กสามารถใช้สติปัญญาเป็นเครื่องตัดสินสิ่งต่างๆมากกว่าการไม่มีเหตุผล

6. • การให้ประสบการณ์แก่เด็กในการลงมือทำสิ่งต่างๆด้วยตัวเอง

7. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของไวก็อตสกี้

7.1. ทฤษฎีของไวก็อตสกี้ได้จัดการเรียนรู้ เป็น 2ระดับ 1ระดับพัฒนาการที่เป็นจริง 2ระดับพัฒานาการที่สามารถจะเป็นไปได้

7.1.1. ระยะห่างระหว่างระดับพัฒนาการที่เป็นจริงและระดับพัฒนาการสามารถเป็นไปได้ เรียกว่าพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ

7.1.1.1. พื้นที่รอยต่อพัฒนาการ เป็นบริเวณรอยต่อของความเข้าใจในเรื่องต่างๆ เ ด็กจะสามารถเข้าใจอะไรที่ยากเกินกว่าระดับทางสติปัญญาของตนเองได้ หากได้รับคำแนะนำปกติหรือชักจูงโดยใครบางคนที่มีสติปัญญาที่ดีกว่า

7.1.1.2. การเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการ การเรียนรู้นำไปสู่พัฒนาการที่ดีขึ้นการพัฒนาการเกิดจากการเรียนรู้ มโนทัศน์ 2 ประเภทคือ มโนทัศน์โดยธรรมชาติและมโนทัศน์ที่เป็นระบบ

7.2. การนำไปใช้ในการจัดการเรียน การสอน

7.2.1. • สนับสนุนในสิ่งที่เด็กคิดอยากจะทำ

7.2.2. • การบอกเล่าประสบการณ์ หรือ ทำให้เห็น

7.2.3. • การจัดทำสื่อในการจัดการเรียน การสอน ให้อำนวยความสะดวก ให้การช่วยเหลือ แนะนำแก่เด็ก

8. ทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสัน

8.1. เน้นพัฒนาการทางบุคลิกตั้งแต่เกิดจนถึงวัยชรา

8.1.1. เน้นการควบคุมตนอง ความคิดและการรู้จักตนเอง

8.1.2. เน้นการสร้างฐานแต่ละฐานให้แข็งแรงตั้งแต่ขั้นแรกจนถึงขั้นสุดท้าย

8.2. ทฤษฎีที่นำมาใช้คือ การอุตสาหะกับปมด้อย (Industry vs Inferiority) 6-12ปี เนื่องจากวัยนี้มีพัฒนาการด้านสติปัญญาและร่างกายอยู่ในขั้นที่มีความต้องการไม่เคยว่าง

8.2.1. เพื่อนจึงมีความหมายมากเพราะวัยนี้ชอบการทำงานการเปรียบเทียบ

8.2.2. เด็กวัยนี้ชอบกิจกรรมที่จะต้องการใช้ความคิด ความสามารถของตัวเอง

8.3. การนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน

8.3.1. 1.ควรจัดกิจกรรมให้เด็กเรียนรู้เอกลักษณ์ของตัวเอง

8.3.2. 2.ควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเรียนเกี่ยวกับความใกล้ชิดกับคนใกล้ตัว

8.3.3. 3.เน้นการแสดงออกในด้านความคิด สติปัญญา ความสามารถและให้อิสระเด็ก

8.3.4. 4.ให้เด็กสร้างผลงานต่างๆด้วยตนเอง ทำให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง

8.3.5. 5.ให้เด็กทดลองหรือเรียนรู้ภายในคาบเรียนว่าเด็กมีความชอบหรือความสนใจในด้านไหน

8.3.6. 6.การทำงานกลุ่มหรือกิจกรรมกลุ่มให้เด็กแต่ละคนมีหน้าที่ที่จะต้องรับผิดชอบในของตนเองเพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้สึกมีส่วนร่วมในสังคม