Unlock the full potential of your projects.
Try MeisterTask for free.
Non hai un account?
Iscriviti gratis
Naviga
Mappe in primo piano
Categorie
Gestione del progetto
Affari e obiettivi
Risorse umane
Brainstorming e analisi
Marketing e contenuti
Istruzione e note
Intrattenimento
Vita
ICT
Design
Sintesi
Altro
Lingue
English
Deutsch
Français
Español
Português
Nederlands
Dansk
Русский
日本語
Italiano
简体中文
한국어
Altro
Mostra mappa intera
Copia ed edita mappa
Copia
ผักไฮโดรโปนิกส์
Altro
38 พีรดา ป้องกันภัย
Seguire
Iniziamo.
È gratuito!
Iscriviti con Google
o
registrati
con il tuo indirizzo email
Mappe mentali simili
Schema mappa mentale
ผักไฮโดรโปนิกส์
da
38 พีรดา ป้องกันภัย
1. การปลูก
1.1. การเตรียมพื้นที่และ โต๊ะปลูก ประกอบโต๊ะปลูก และติดตั้งตามวิธีการประกอบ ชุดไฮโดรโปนิกส์ และนำโต๊ะ ปลูกมาวางในตำแหน่งที่ได้รับ แสงแดดอย่างน้อย 6 ชั่วโมง/วัน
1.2. พันธุ์และเมล็ดพันธุ์ผัก เมล็ดพันธุ์ผักมี 2 ชนิดคือ เคลือบดินเหนียว เนื่องจากเมล็ด ผักมีขนาดเล็ก ทำให้เป็นอันตราย และสูญเสียได้ง่าย จึงมีการเคลือบเมล็ดด้วย ดินเหนียว เมล็ดที่เคลือบจะมีอายุการเก็บ รักษาสั้น เนื่องจากได้มีการกระตุ้นการงอกมาแล้ว แต่จะสะดวกสำหรับการใช้งาน
1.3. การเพาะต้นกล้า นำวัสดุปลูก เช่น เพอร์ไลท์ เวอร์มิคูไลท์ ใส่ถ้วยเพาะและนำเมล็ดผัก ใส่ตรงกลางถ้วย กลบเมล็ด และรดน้ำให้เปียก และเก็บไว้ในที่ปลอดภัย รดน้ำทุกวัน ประมาณ 3-5 วัน เมล็ดเริ่มงอก และเริ่มให้สาร ละลายอ่อนๆ แทนน้ำ
1.4. การปลูกบนราง ขนาด 1.5 เมตร
2. กระบวนการเจริญเติบโต
2.1. เพาะเมล็ดทิ้งไว้ให้ต้นโต 15 วัน
2.2. นำไปลงแปลงอนุบาล 15 วัน
2.3. นำไปปลูกในวัสดุปลูกจากนั้นบำรุงด้วยปุ๋ยน้ําใช้เวลา 15 วัน
3. วัสดุอุปกรณ์
3.1. ภาชนะในการปลูก
3.2. วัสดุปลูก
3.3. ปุ๋ยหรือธาตุอาหารของพืช
3.4. น้ำ
3.5. ระบบไฟฟ้า
3.6. ปั้มน้ำ
3.7. เมล็ดพืช
3.8. อุปกรณ์สำหรับตรวจวัดและควบคุมสารละลาย
4. การดูแลรักษา
4.1. รักษาระดับน้ำให้อยู่ในระดับควบคุมอยู่เสมอ เช่น 10 ลิตร
4.2. ควบคุมค่า EC อยู่ระหว่าง 1-1.8 โดยเครื่อง EC meter ปรับลดโดยการเพิ่มน้ำ และปรับค่า EC เพิ่มโดย การเพิ่มปุ๋ย กรณีไม่มีเครื่องวัดสามารถ ประมาณ การเติมสารอาหาร A และB ดังตาราง
4.3. ควบคุมค่า pH อยู่ระหว่าง 5.2-6.8 โดยเครื่อง pH meter หรือ pH Drop test ปรับลดโดยการกรดฟอสฟอริก หรือกรดไนตริก (pH down) และปรับค่า pH เพิ่มโดยการ เติมโปตัสเซียมไฮดรอกไซด์ (pH up) ปริมาณ 2-3 หยด
5. การเก็บเกี่ยวผลผลิต
5.1. ก่อนการเก็บเกี่ยวผักไฮโดรโปนิกส์ 10 วัน เป็นอย่างน้อย ให้หยุดใช้ยาฆ่าเชื้อรา ส่วนสารที่มีเคมีอื่นๆ ต้องรอให้ หมดฤทธิ์อย่างน้อย 15 วัน
5.2. ก่อนการเก็บเกี่ยว 7 วัน ถ่ายน้ำละลายสารอาหาร ออกจากท่อให้หมด แล้ว สูบเอาน้ำเปล่า หรือน้ำสะอาด ไปเลี้ยงหรือแช่ผักไว้
5.3. ควรเก็บผักไฮโดรโปนิกส์ ในวันที่มีแดด และควรเป็นช่วงบ่าย เพราะไนเตรทจะต่ำลง หากเก็บผัก ในช่วงที่มีแดดจัด ผักจะมีการ นำไนเตรทมาใช้ประโยชน์มากกว่า
Comincia. È gratis!
Connetti con Google
o
Registrati