สรุปทฤษฎีพัฒนาการ วิชาจิตวิทยาสำหรับครู (กศ 053004)
da หมดความหมาย แต่บทแสดงยังหายใจอยู่
1. ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์
1.1. ขั้นที่ 1 การใช้ประสาทสัมผัส (แรกเกิด - 2 ปี)
1.2. ขั้นที่ 2 เตรียมความคิดที่มีเหตุผล (2 -7) ปี
1.3. ขั้นที่ 3 คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม (7 - 11 ปี)
1.4. ขั้นที่ 4 คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นนามธรรม (12 ปีขึ้นไป)
2. ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคห์ลเบิร์ก
2.1. ระยะที่ 1 ก่อนเกณฑ์ทางสังคม
2.1.1. 1. ลงโทษและเชื่อฟัง (0 -7 ปี)
2.1.2. 2. แสวงหารางวัล (7 – 10 ปี)
2.2. ระยะที่ 2 ตามเกณฑ์ทางสังคม
2.2.1. 3. ทำตามความคิดเห็นของสังคม (10 -13 ปี)
2.2.2. 4. ทำตามกฎของสังคม (13 -16 ปี)
2.3. ระยะที่ 3. เหนือกฎเกณฑ์ทางสังคม
2.3.1. 5. ทำตามสัญญา (16 ปี ขึ้นไป)
2.3.2. 6. ขั้นอุดมคติสากล (วัยผู้ใหญ่ขึ้นไป)
3. ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของบรูเนอร์
3.1. 1. ขั้นกาารกระทำ
3.2. 2. ขั้นจิตนาการ
3.3. 3. ขั้นสัญลักษณ์
4. ทฤษฎีพัฒนาการความต้องการทางเพศของฟรอยด์
4.1. 1. ขั้นปาก (แรกเกิด - 1 ปี)
4.2. 2. ขั้นทวารหนัก (1 - 2 ปี)
4.3. 3. ขั้นอวัยวะเพศ (3 - 5 ปี)
4.4. 4. ขั้นพักหรือสงบ (6 - 12 ปี)
4.5. 5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (12 ปีขึ้นไป)
5. ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมของอีริคสัน
5.1. ขั้นที่ 1 ไว้วางใจ/ไม่ไว้วางใจ (แรกเกิด - 1 ปี)
5.2. ขั้นที่ 2 เป็นตัวเอง/ไม่เป็นตัวเอง (2 -3 ปี)
5.3. ขั้นที่ 3 ความคิดริเริ่ม/ความรู้สึกผิด (3-5 ปี)
5.4. ขั้นที่ 4 ขยันหมั่นเพียร/มีปมด้อย (ุ6 - 11 ปี)
5.5. ขั้นที่ 5 รู้จักตนเอง/ไม่รู้จักตนเอง (12 - 18 ปี)
5.6. ขั้นที่ 6 คุ้นเคย/อ้างว้าง (วัยผู้ใหญ่ตอนต้น)
5.7. ขั้นที่ 7 ความเป็นพ่อแม่/ความหยุดนิ่ง (วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง)
5.8. ขั้นที่ 8 มั่นคงทางใจ/ท้อแท้สิ้นหวัง (วัยชรา)
6. ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมของแอดเลอร์
6.1. ความสนใจในสังคม
6.2. การเข้าร่วมสังคม
6.3. ความรู้สึกมีปมด้อย
6.4. วิถีชีวิต(วิถีสังคม)
6.5. เป้าหมายในชีวิต