อินเทอรเน็ต

Iniziamo. È gratuito!
o registrati con il tuo indirizzo email
อินเทอรเน็ต da Mind Map: อินเทอรเน็ต

1. ความหมายของอินเทอรเน็ต

1.1. อินเทอรเน็ต (Internet) มาจากคําวา Inter Connection Network เปนเครือขายขนาดใหญที่ เชื่อมตอเครือขายคอมพิวเตอรขององคกรธุรกิจ หนวยงานของรัฐบาล สถานศึกษา ตลอดจนเชื่อมโยง คอมพิวเตอรสวนบุคคลเขาไวดวยกัน ทําใหขอมูล สารสนเทศ สินคา และบริการที่นําเสนอผานเครือขาย คอมพิวเตอรเหลานี้สามารถเขาถึงไดจากคอมพิวเตอรหรืออุปกรณอื่นๆ จากที่ตางๆ ไมวาจะเปนบาน สํานักงาน โรงเรียน ชายทะเล หรือรานอาหารทั่วโลก

2. โครงสรางพื้นฐานของอินเทอรเน็ต

2.1. โครงสรางพื้นฐานของอินเทอรเน็ต ประกอบดวยเครือขายระดับทองถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับนานาชาติที่เชื่อมโยงเขาดวยกัน อินเทอรเน็ตเชื่อมโยงขอมูลจากเครือขาย คอมพิวเตอรหนึ่งไปยังเครือขายอื่นดวยความเร็วและคุณภาพที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับรูปแบบการสื่อสาร และ สื่อที่ใชในการเชื่อมโยงเครือขาย เชน สายโทรศัพท สายไฟเบอรออพติก และคลื่นวิทยุ หนวยงานของรัฐและเอกชนมีหนาที่ในการดูแล และจัดการจราจร ขอมูลบนอินเทอรเน็ตในเฉพาะเครือขายที่รับผิดชอบ

3. การเขาถึงอินเทอรเน็ต

3.1. ผูใชที่เปนคนทํางาน นักเรียน หรือนักศึกษา มักจะเขาถึงอินเทอรเน็ตผานเครือขายของหนวยงาน โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ซึ่งเชื่อมตอเขากับอินเทอรเน็ตความเร็วสูง ขณะที่ผูใชทั่วไปอาจใชวิธีการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตโดยใชโมเด็มผานสายโทรศัพท ซึ่งเปนอินเทอรเน็ตความเร็วต่ํา หรืออาจเชื่อมตอผานบรอด แบนดอินเทอรเน็ต (broadband internet connection) เชน เอดีเอสแอล (Asymmetric Digital Subscriber Line : ADSL) เคเบิลโมเด็มที่เชื่อมตอกับเครือขายเคเบิลทีวี หรือเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบไร สาย เชน ไวไฟ หรืออินเทอรเน็ตผานดาวเทียม

3.1.1. ผูใหบริการอินเทอรเน็ต หรือไอเอสพี (Internet Service Provider : ISP)

3.1.1.1. ใหบริการการ เชื่อมตอเขาสูอินเทอรเน็ตสําหรับผูใช โดยอาจคิดคาบริการเปนรายเดือน บริษัทที่ใหบริการอินเทอรเน็ตใน ประเทศไทย เชน ทีโอที ซีเอส ล็อกซอินโฟ กสท โทรคมนาคม ทีทีแอนดที และสามารถเทเลคอม นอกจากนี้ไอเอสพียังใหบริการเสริมอื่นๆ เชน อีเมล เว็บเพจ พื้นที่จัดเก็บขอมูล หรือโทรศัพทระหวาง ประเทศ ตัวอยางการเขาสูบริการอินเทอรเน็ตโดยผานผูใหบริการ

4. การติดตอสื่อสารบนอินเทอรเน็ต

4.1. การติดตอสื่อสารบนอินเทอรเน็ต คอมพิวเตอรที่ติดตอสื่อสารระหวางกันบนอินเทอรเน็ต มีคุณลักษณะที่แตกตางกัน ของคอมพิวเตอร ซีพียู หรือระบบปฏิบัติการ นอกจากนี้รูปแบบการเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรที่เขาสู อินเทอรเน็ตไมวาจะเปนแลนหรือแวน ก็อาจมีรูปแบบที่แตกตางกัน คอมพิวเตอรทีมีความแตกตางกันใหสามารถทํางานรวมกันได เนื่องจากใชโพรโทคอลเดียวกันในการสื่อสารที่ เรียกวา “ทีซีพี/ไอพี” (Transmission Control Protocol / Internet Protocol : TCP/IP)

4.2. 1) เลขที่อยูไอพี (IP address) หมายเลขอางอิงในการติดตอสื่อสารเรียกวา ซ้ํากันเลย โดยไอพีแอดเดรสประกอบดวยเลข ซึ่งเปนไอพีแอดเดรสของเว็บไซตสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2) ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System : DNS) ตัวเลขซึ่งยากตอการจดจําและอางอิงระหวางการใชงาน ดังนั้นจึงกําหนดใหมีระบบชื่อโดเมน Name System : DNS) ซึ่งแปลงเลขที่อยูไอพีใหเปนชื่อโดเมนที่อยูในรูปของชื่อยอภาษาอังกฤษหลายสวน

4.3. สวนประกอบสุดทายในชื่อโดเมนเรียกวา“ชื่อโดเมนระดับบนสุด”