ปัญหาการเรียนการสอนรายวิชา CS กิจกรรม PLC logbook-2

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปัญหาการเรียนการสอนรายวิชา CS กิจกรรม PLC logbook-2 by Mind Map: ปัญหาการเรียนการสอนรายวิชา CS กิจกรรม PLC logbook-2

1. ประยุกต์ใช้กิจกรรมจาก Google CS First

1.1. https://csfirst.withgoogle.com/s/en/home

2. A3-5 ขาดทักษะในการเขียนอัลกอลิทึม

3. B1-4 การเขียนโปรแกรม (stracth และ Python)

4. A1

4.1. A1-1 นักเรียนไม่สามารถจำบล็อกคำสั่งของโปรแกรม Scratch ได้ จึงทำให้การทำงานของโปรแกรมผิดพลาด

4.1.1. ชนิดของบล็อค (แบ่งตามรูปร่าง)

4.1.1.1. Hat Blocks, Stack Blocks, Reporter Blocks, Boolean Blocks, C Blocks, and Cap Blocks.

4.1.2. ประเภทของบล็อค (แบ่งตามสี)

4.1.2.1. Block Colors

4.1.2.2. Block Colors

4.1.2.3. https://quizizz.com/join/quiz/5f1186c1307bcc001b15ae1f/start?from=soloLinkShare&referrer=5ecaa437b7f8c0001bf91e8f

4.1.3. ลิงก์เพิ่มเติม

4.1.3.1. Blocks - Scratch Wiki

4.1.3.2. https://www.twinkl.co.th/resource/t2-i-055-scratch-blocks

4.1.4. ประยุกต์ใช้กิจกรรมจาก Google CS First

4.1.4.1. https://csfirst.withgoogle.com/s/en/home

4.2. Scratch Coding Camp - Introduction to Scratch 3.0 | STEM Detective Lab

4.3. A1-3 นักเรียนยังขาดทักษะในการคิดแยกย่อยปัญหาหรือแตกประเด็นปัญหา

4.4. A1-4 นักเรียนไม่มีพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม

4.4.1. https://quizizz.com/join/quiz/5f118142bd70f8001b9008f1/start?from=soloLinkShare&referrer=5ecaa437b7f8c0001bf91e8f

4.5. A1-2 นักเรียนไม่สามารถเขียนโปรแกรมเองได้

5. A3

5.1. A3-1 นักเรียนขาดทักษะในการคิดแยกแยะ ปัญหาแต่ละประเด็นปัญหา

5.2. A3-2 นักเรียนใช้โปรแกรม Google form ต่างๆในอุปกรณ์ไม่เป็น

5.3. A3-3 นักเรียนขาดทักษะการคิดที่เป็นระบบ

5.4. A3-4 นักเรียนปฏิบัติการทำ Flow chart ไม่ได้

5.4.1. ฝึกเขียนบรรยายเป็นซูโดโค้ด หรือ วลีในการดำเนินการ ตามลำดับขั้นตอนให้ได้ก่อน -> นำไปสู่การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายใน scratch หรือ pocket code ให้ได้ -> จากนั้นจึงถอดออกมาเป็น flowchart

5.4.2. ในด้านการจำภาพสัญลักษณ์ อาจทำเป็นแบบฝึกหัดใน quizizz.com ซึ่งจะสร้างแบบฝึกหัดในรูปแบบคำถามและ flashcard ให้อัตโนมัติ โดย flashcard ช่วยให้จดจำเนื้อหาสั้นๆ ในลักษณะจับคู่ได้เป็นอย่างดี เช่น สัญลักษณ์ของโฟลว์ชาร์ตกับชื่อหรือคำธิบายสั้นๆ

6. B3

6.1. B3-1 นักเรียนไม่สามารถจัดลำดับความคิดอย่างเป็นขั้นตอนได้

6.2. B3-2 นักเรียนขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการเขียนโค้ดดิ้ง

6.3. B3-3 นักเรียนขาดทักษะในการเขียนโค้ดดิ้ง

6.3.1. ประยุกต์ใช้กิจกรรมจาก Google CS First

6.3.1.1. https://csfirst.withgoogle.com/s/en/home

6.3.2. สร้างโปรแกรมจำลองและบทเรียนจากเว็บ tinkercad

6.3.2.1. https://www.tinkercad.com/

6.3.3. ฝึกทักษะการเขียนเขียนจากเว็บ w3schools.com

6.3.3.1. https://w3schools.com

6.3.4. ฝึกทักษะการเขียนจากเว็บ p5js.org

6.3.4.1. https://p5js.org

6.3.4.2. เหมาะสำหรับฝึกเขียนโค้ดเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์

6.3.4.3. เน้นการเขียนโปรแกรมเชิงมัลติมีเดียบนเว็บด้วยจาวาสคริปต์

6.3.5. ฝึกเขียนโปรแกรมจากเว็บ glitch.com

6.3.5.1. https://glitch.com

6.3.5.2. ตย. โปรแกรมสร้างเพลง

6.3.5.3. จุดเด่น

6.3.5.3.1. มี ตย. โปรเจคจำนวนมาก

6.3.5.3.2. สามารถแชร์ให้ผู้อื่นแก้ไขโค้ดพร้อมๆ กันได้

6.3.5.3.3. สามารถแชร์แอปให้ผู้ใช้งานได้ทันที

6.3.5.3.4. เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมในรูปแบบเว็บ

6.3.5.3.5. เน้นภาษาจาวาสคริปต์

7. A4-1 รุูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์

7.1. สร้างโปรแกรมจำลองและบทเรียนจากเว็บ tinkercad

7.1.1. https://www.tinkercad.com/

7.2. A4-3 สื่อการเรียนรู้ที่ใช้พัฒนาทักษะกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

8. B2-1 ผู้เรียนไม่สามารถวิเคราะห์รายละเอียดที่จำเป็นของปัญหาออกจากรายละเอียดที่ไม่จำเป็น และอธิบายรายละเอียดที่ไม่ครบถ้วน (แนวคิดเชิงนามธรรม ม.1)

9. A2

9.1. A2-4 ปัญหาการสอนเรื่องการออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแก้ปัญหา (ม.2)

9.2. A2-2 ปัญหาการสร้าง คัดลอก ย้าย ลบ เปลี่ยนชื่อ จัดหมวดหมู่ไฟล์และโฟลเดอร์ (ป.2)

9.2.1. A2-1 ปัญหาการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ (ป.1)

9.3. A2-3 ปัญหาการสอนเขียนโปรแกรม Scratch (ป.4 , ป.5 , ม.1 , ม.2)

9.3.1. ประยุกต์ใช้กิจกรรมจาก Google CS First

9.3.1.1. https://csfirst.withgoogle.com/s/en/home

9.3.2. สร้างโปรแกรมจำลองและบทเรียนจากเว็บ tinkercad

9.3.2.1. https://www.tinkercad.com/

9.4. A2-4 ปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิในการเผยแพร่ผลงาน (ม.2)

10. A4

10.1. A4-4 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา (คำสั่งวนซ้ำ)

10.2. A4-2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โปรแกรม Scratch เรื่อง ตัวแปรและการดำเนินการทางคณิตศาสตร์

10.3. B2-3 ผู้เรียนยังไม่สามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและถ่ายทอดแนวคิด ในหัวข้อแนวคิดเชิงนามธรรม (ม.1)

10.4. A4-5 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การออกแบบอัลกอริทึม

10.4.1. Flowgorithm เป็นโปรแกรมฟรี ช่วยผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรมที่เป็นผังงานแบบกราฟิกที่เรียบง่าย http://www.flowgorithm.org/

11. B1

11.1. B1-1 นักเรียนขาดทักษะในด้านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ หลักการและแนวคิดในการจัดลำดับขั้นตอน (อัลกอลิทึม) สู่ทักษะการประยุกต์ในโจทย์และการนำไปต่อยอด (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒)

11.1.1. ใช้ pocket code, thunkable, sketchware หรือ appinventor2 สร้างแอปอย่างง่าย (เน้นสมาร์ทโฟน)

11.1.2. สร้างโปรแกรมจำลองและบทเรียนจากเว็บ tinkercad

11.1.2.1. https://www.tinkercad.com/

11.2. B1-2 การออกแบบผังงานและการเขียนรหัสเทียม

11.3. B1-3 อัลกอริทึม

12. B2

12.1. B2-2 ผู้เรียนไม่สามารถวิเคราะห์และออกแบบอัลกอรึทึมจากโจทย์ปัญหาได้ (ม.1)

12.1.1. ประยุกต์ใช้กิจกรรมจาก Google CS First

12.1.1.1. https://csfirst.withgoogle.com/s/en/home

13. B4

13.1. B4-1 นักเรียนไม่สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบได้

13.2. B4-2 นักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการแก้อย่างเป็นระบบ ไม่สามารถอธิบายเป็นขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง

13.3. B4-3 นักเรียนไม่เข้าใจหลักการเขียนอัลกอริทึม

13.4. B4-4 นักเรียนไม่เข้าใจหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

13.5. B4-5 นักเรียนขาดความรู้เรื่องนำขั้นตอนแก้ปัญหามาเขียนในรูปแบบของผังงาน

13.5.1. ฝึกเขียนบรรยายเป็นซูโดโค้ด หรือ วลีในการดำเนินการ ตามลำดับขั้นตอนให้ได้ก่อน -> นำไปสู่การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายใน scratch หรือ pocket code ให้ได้ -> จากนั้นจึงถอดออกมาเป็น flowchart

13.5.2. ในด้านการจำภาพสัญลักษณ์ อาจทำเป็นแบบฝึกหัดใน quizizz.com ซึ่งจะสร้างแบบฝึกหัดในรูปแบบคำถามและ flashcard ให้อัตโนมัติ โดย flashcard ช่วยให้จดจำเนื้อหาสั้นๆ ในลักษณะจับคู่ได้เป็นอย่างดี เช่น สัญลักษณ์ของโฟลว์ชาร์ตกับชื่อหรือคำธิบายสั้นๆ