ระบบทางเดินปัสสาสวะในเด็ก (Urinary Tract Infection for Children)

นางสาวอารีวัลย์ พ่อเกษ รุ่น 26 เลขที่ 90

Laten we beginnen. Het is Gratis
of registreren met je e-mailadres
ระบบทางเดินปัสสาสวะในเด็ก (Urinary Tract Infection for Children) Door Mind Map: ระบบทางเดินปัสสาสวะในเด็ก      (Urinary Tract Infection for Children)

1. Acute Glomerulonephritis

1.1. สาเหตุ

1.1.1. การอักเสบของไตชนิดนี้พบได้บ่อยในเด็กอายุระหว่าง 2-12 ปีและพบมากในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง 2:1

1.1.2. สาเหตุการอักเสบของไตไม่ได้มีสาเหตุจากการติดเชื้อโดยตรงแต่เกิดขึ้น ตามหลังการติดเชื้ออื่นๆของร่างกายที่พบบ่อยคือPharyngitis จาก -Streptococcus gr. A. (Post-streptococcal glomerulonephritis) หรือการติดเชื้อจากผิวหนังและ การติดเชื้ออื่นๆในเด็กจะพบได้บ่อย คือ Acute post-streptococoal glomerulonephritis

1.2. อาการ

1.2.1. ปัสสาวะเป็นฟอง

1.2.2. ปัสสาวะสีแดงหรือเป็นสีโคล่า

1.2.3. บวมน้ำบริเวณใบหน้า มือ เท้า ท้อง

1.2.4. มีความดันเลือดสูง

1.2.5. อ่อนล้า เหนื่อยเพลีย ปวดข้อ เป็นผื่น

1.2.6. มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ

1.3. การรักษา

1.3.1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหาร

1.3.1.1. งดอาหารรสเค็ม

1.3.1.2. ลดอาหารที่มีโพแทสเซียม

1.3.2. -ใช้ยากดภูมิต้านทาน -รักษาด้วยยาสเตียรอยด์ -รักษาด้วยยาขับปัสสาวะ -รักษาด้วยยาไซโคฟอสฟาไมด์

1.4. การพยาบาล

1.4.1. -ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

1.4.2. -ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

1.4.3. -สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

1.4.4. -เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

1.4.5. -ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

1.4.6. -ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia) ลดความดันโลหิต

2. Phimosis in children

2.1. ภาวะเพศชายไม่สามารถหนังหุ้มปลาย ปิด / เปิดได้

2.2. สาเหตุ

2.2.1. อายุเพิ่มขึ้น

2.2.2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน

2.2.3. ไม่ทราบสาเหตุ

2.3. อาการ

2.3.1. - มีอาการปัสสาวะลำบากร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

2.3.2. - หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบ

2.3.3. - ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมากหรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง

2.3.4. - มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.3.5. - หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ

2.3.6. - รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้

2.4. ข้อห้ามการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.4.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

2.4.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

2.5. ภาวะแทรกซ้อน

2.5.1. การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด

2.5.2. มีการอักเสบติดเชื้อ

2.6. การรักษา

2.6.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง

2.6.1.1. ใช้ครีม steroid ที่มีความเข้มข้นไม่มากเกินไปทาบริเวณหนังหุ้มปลายให้หนังหุ้มปลายมีความยืดหยุ่นดี

2.6.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะ

2.6.2.1. รักษาหลังจากไม่สามารถรักษาด้วยวิธีการอื่น

2.7. การดูแลหลังผ่าตัด

2.7.1. - ทำแผลทุกวัน วันละ 1-2ครั้ง

2.7.2. - 24ชั่วโมงแรกถ้ามีเลือดออกให้ใช้ผ้าก๊อสพันแผลและกดตำแหน่งที่มีเลือดออกไว้

2.7.3. - วันแรกหลังผ่าตัดอาจใช้แผ่นประคบเย็น

2.7.4. - อาบน้ำหรือใช้ฝักบัวสามารถทำได้ในวันที่ 2 หรือ3 หลังการผ่าตัด

2.7.5. - ระวังเวลาปัสสาวะ อย่าให้ถูกผ้าก๊อสพันแผล

2.7.6. - ทานยาแก้ปวดทานได้ ทุก 4 ชั่วโมง

2.7.7. - ไม่ต้องตัดไหม เพราะมักใช้ไหมละลาย

3. นางสาววอารีวัลย์ พ่อเกษ รุ่น 26 เลขที่ 90

4. Urinary tract infection (UTI)

4.1. สาเหตุ

4.1.1. ทางเดินปัสสาวะอุดตัน

4.1.2. เชื้อแบคทีเรียเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ ติดเชื้อแบคทีเรีย E.coli เชื้ออื่นๆ

4.1.3. เส้นประสาทไขสันหลังรอบๆเสียหาย

4.1.4. ปัจจัยอื่นที่ให้ภูมิต้านทานเฉพาะที่ของกระเพาะปัสสาวะลดลง และทำให้เป็น UTI ได้ง่าย ได้แก่ การมีปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะ

4.2. อาการ

4.2.1. - เด็กเล็กอายุตํ่ากว่า 2 ปี อาการไม่แน่นอนเช่น อาจมีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดินเลี้ยงไม่โต

4.2.2. - เด็กอายุ 2-14 ปี อาจจะพบอาการไข้ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

4.2.3. ปัสสาวะขุ่น / เป็นเลือด

4.3. การวินิจฉัย

4.3.1. ซักประวัติ : ประวัติการเจ็บป่วยที่มีอาการของ UTI

4.3.2. X-ray : ช่องท้อง อุ้งเชิงการ

4.4. การรักษา

4.4.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ ป้องกันเนื้อไตถูกทำลาย และป้องกันไตวาย

4.4.2. ค้นหาและแก้ไขความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ ให้นํ้าปริมาณมาก ให้นํ้าโดยการดื่มและ/หรือทางหลอดเลือดดำ บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ ป้องกันการกลับเป็นซํ้า

4.5. การพยาบาล

4.5.1. - ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - สังเกตภาวะแทรกซ้อน - เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย - อำนวยความสุขสบายของร่างกายสอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา

5. Nephrotic syndrome

5.1. สาเหตุ

5.1.1. 1.เกิดความผิดปกติที่ไต

5.1.1.1. Idiopathic NS

5.1.1.2. Congenital nephrosis

5.1.1.3. Acute post infection

5.1.2. 2.เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น

5.1.2.1. -โรคติดเชื้อ -สารพิษ -ภูมิแพ้

5.2. อาการ

5.2.1. กลุ่มอาการอะมีลอยโดซิส ; Amyloidosis

5.2.2. -น้ำหนักลด -บวมทั่วตัว -ปัสสาวะน้อยและมีสีเข้ม อ่อนเพลีย -เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย แน่นท้อง ผิวซีด

5.3. ภาวะแทรกซ้อน

5.3.1. -การติดเชื้อ -การอุดตันของหลอดเลือด Thromboembolism ปริมาณ -เลือดไหลเวียนลดน้อยลง

5.4. การวินิจฉัย

5.4.1. ซักประวัติ ตรวจร่างกาย

5.4.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ - ตรวจปัสสาวะ - ตวรจเลือด

5.5. การพยาบาล

5.5.1. 1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

5.5.2. 2.ป้องกัน หรือควบคุมอาการบวม

5.5.3. 3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia)

5.5.4. 4. ลดความดันโลหิต

5.5.5. 5. สังเกตการณ์เกิดภาวะแทรกซ้อน

5.5.6. 6.เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

5.5.7. 7.อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

5.5.8. 8.ประคับประคองด้านจติ ใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

5.5.9. 9. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองที่บ้าน