Unlock the full potential of your projects.
Try MeisterTask for free.
Heb je nog geen account?
Meld je Gratis aan
Browse
Aanbevolen kaarten
Rubrieken
Project management
Zakelijke doelen
Personeelszaken
Brainstormen en analyseren
Marketing & Inhoud
Onderwijs en notities
Entertainment
Leven
Technologie
Ontwerp
Samenvattingen
Andere
Talen
English
Deutsch
Français
Español
Português
Nederlands
Dansk
Русский
日本語
Italiano
简体中文
한국어
Andere
Toon volledige map
Kopieer en bewerk map
Kopieer
ปฏิบัติการเรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายเเละความสามารถในการละลายของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์
Andere
PP
Puti Phansawangwong
Volg
Laten we beginnen.
Het is Gratis
Login met Google
of
registreren
met je e-mailadres
Vergelijkbare mind mappen
Overzicht van map
ปฏิบัติการเรื่องค่าคงที่ผลคูณการละลายเเละความสามารถในการละลายของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์
Door
Puti Phansawangwong
1. 1.ขวดรูปชมพู่ ขนาด 250 cm3
2. 4.ปิเปตขนาด 5cm3 เเละ 25cm3
3. 6.กระบอกตวงขนาด 10 cm3
4. วัตถุประสงค์
4.1. เพื่อหาค่าคงที่ของการละลายเเคลเซียมไฮดรอกไซด์
4.2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของไอออนร่วมที่มีต่อสมดุลเเคลเซียมไฮดรอกไซด์
5. เครื่องมือเเละอุปกรณ์
5.1. 2.บิวเรต
5.2. 3.กรวยเเก้วเเละกระดาษกรองเบอร์1
6. สารเคมี
6.1. 1.สารละลายอิ่มตัวของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์(sat.Ca(OH)2 olution)เตรียมโดยการละลายเเคลเซียมไฮดรอกไซด์3กรัม ในน้ำ1ลิตร
6.2. 2.สารละลายกรดเหลือเจือจางความเข้มข้น 1.0*10-2 โมลต่อลิตร
6.3. 3.สารละลายฟีนอล์ฟธาลีน
6.4. 4.ผงเเคลเซียมคลอไรด์
7. ตอนที่1 เตรียมสารละลายอิ่มตัวของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์ในน้ำกลั่น โดยการเติมผงเเคลเซียมไฮดรอกไซด์ 3กรัมในน้ำ1ลิตร กวนเเล้วตั้งทิ้งไว้ให้ตะกอนนอนก้นอย่างน้อย1ชั่วโมงก่อนการทดลองกรองสารละลายด้วยกระดาษกรองเพื่อใช้เฉพาะส่วน
8. การหาความสามารถในการละลายหรือละลายได้ของเเคลเซียมไฮดรอกไซด์เเละความเข้มข้นของ OH- ในสารละลายอิ่มตัวเเคลเซียมไฮดรอกไซด์
8.1. บรรจุสารละลายมาตรฐานกรดเกลือเจือจาง ลงในบิวเรต
8.2. ปิเปตสารละลายส่วนใสที่ผ่านการกรองจากตอนที่1มาใส่ในขวดรูปชมพู่ 2ใบ เติมน้ำกลั่น
8.3. เติมฟีนอล์ฟธาลีนอินดิเคเตอร์ลงไป1หยด
8.4. ไทเทรตสารละลายเเต่ละขวดด้วยสารละลายมาตรฐานกรดเกลือเจือจางที่เตรียมไว้เเล้วในบิวเรตเมื่อถึงจุดยุติ สารละลายเดิมสีชมพู จะเปลี่ยนเป็นสีใส ไม่มีสี
8.5. บันทึกปริมาตรสารละลายมาตรฐานกรดเกลือที่ใช้ไทเทรตสารละลายในขวดรูปชมพู่เเต่ละใบ
9. 5.บีกเกอร์ขนาด 250cm3
10. บทนำ
10.1. สารละลายอิ่มตัว ของสารประกอบไอออนิกใดๆที่ละลายน้ำได้น้อยจะเกิดการสมดุลระหว่าง เกลือส่วนที่ละลายซึ่งจะเเตกตัวเป็นไอออนหมด กับที่อยู่ในรูปของของเเข็งอยู่ในสารละลาย มีค่าคงที่ ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ การละลายของเกลือจะลดลงถ้าเพิ่มความเข้มข้นของไอออนบวกหรือไอออนลบ ที่เรียกว่า ไอออนร่วม ลงไป เพราะจะทำให้สมดุลของการละลายเกิดการเปลี่ยนเเปลงย้อนกลับมาทางซ้ายมากขึ้นเป็นไปตามหลักของเลอชาเตอลิเยร์ที่ว่าด้วยผลของไอออนร่วม
11. การทดลอง
Begin. Het is gratis!
Verbind met Google
of
Registreren