โรงเรียนประชาบาลถึงการศึกษาไทย 4.0

Laten we beginnen. Het is Gratis
of registreren met je e-mailadres
โรงเรียนประชาบาลถึงการศึกษาไทย 4.0 Door Mind Map: โรงเรียนประชาบาลถึงการศึกษาไทย 4.0

1. โรงเรียนประชาบาลเกิดขึ้นในปี พ.ศ.2454

1.1. ประชาชนในหมู่บ้านหรือตำบลหนึ่งสมัครใจร่วมกันก่อตั้งโดยได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดเลือกสภาจัดการจำนวนไม่เกิน 5 คน เป็นผู้ตั้งและดำเนินกิจการของโรงเรียนและดำรงด้วยทรัพย์สินของตนเอง

1.2. นายอำเภอตั้งขึ้นโดยความเห็นชอบของผู้ว่าราชการจังหวัด ดำเนินกิจการโดยเงินศึกษาพลี ซึ่งเรียกเก็บจากชายไทย

2. พ.ศ.2560 การศึกษาไทยก้าวสู่ยุค 4.0

2.1. สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ส่งเสริมแนะนำพัฒนาการการศึกษา

2.2. สภาการศึกษาสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี พัฒนาการศึกษาของไทยให้มีคุณภาพ

2.3. สภาการศึกษาจังหวัด ยกระดับคุณภาพของผู้เรียน

3. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545

3.1. เกิดการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.)

3.1.1. แบ่งระบบการบริหารเป็นเขตพื้นที่การศึกษา

3.1.1.1. เขตพื้นที่การศึกษาการประถมศึกษา

3.1.1.2. เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

3.2. คุรุสภา

3.2.1. กำกับดูแลการพัฒนาวิชาชีพครู ยกฐานะวิชาชีพทางการศึกษา

4. พ.ศ.2509

4.1. องค์การบริหารบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.)

4.1.1. ระดับประเทศ

4.1.1.1. มีคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ (กปช.)

4.1.2. ระดับจังหวัด

4.1.2.1. มีคณะกรรมการประถมศึกษาจังหวัด (กปจ.) โดยมีผู้อำนวยการประถมศึกษาจังหวัด (ผอ.ปจ.)

4.1.3. ระดับอำเภอ

4.1.3.1. มีผู้อำนวยการประถมศึกษาอำเภอ (ผอ.ปอ.)

5. พ.ศ.2491

5.1. ยกฐานะโรงเรียนประชาบาลเป็นของรัฐ สังกัดกรมสามัญศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ระบบการบริหารจักการการศึกษาจึงรวมศูนย์อำนาจอยู่ที่ส่วนกลางเพียงหนึ่งเดียว

6. พ.ศ.2464

6.1. นักเรียนที่จะเข้าเรียนได้ ต้องได้รับหมายเกณฑ์ตามพระราชบัญญัติประถมศึกษา

7. พ.ศ.2486

7.1. รัฐบาลได้โอนโรงเรียนประชาบาลให้กับกระทรวงศึกษาธิการเพื่อที่จะคุมการศึกษา

7.2. ได้มีการเรียกร้องให้ยกฐานะครูประชาบาลเป็นข้าราชการ

8. พระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488

8.1. เกิดสภาครูที่เรียกว่าคุรุสภาขึ้นในกระทรวงศึกษาธิการ รับหน้าที่บริหารงานบุคคลกับครูทุกประเภท

9. อ้างอิง

9.1. รองศาสตร์จารย์ดร. สมศักดิ์คงเที่ยง. (2560). จากโรงเรียนประชาชื่นถึงการศึกษาไทย 4.0 วารสารเพื่อการศึกษาวิชาชีพครู,116(12)69-71

9.2. รองศาสตร์จารย์ดร. สมศักดิ์คงเที่ยง. (2560). จากโรงเรียนประชาชื่นถึงการศึกษาไทย 4.0 วารสารเพื่อการศึกษาวิชาชีพครู, 117 (1) 67-71