ระดับชั้นประถมศึกษา

Laten we beginnen. Het is Gratis
of registreren met je e-mailadres
ระดับชั้นประถมศึกษา Door Mind Map: ระดับชั้นประถมศึกษา

1. สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด

1.1. มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรร

1.2. ป.๑

1.2.1. ตัวชี้วัด

1.2.1.1. ๑. ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม

1.2.1.2. ๒. ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง

1.2.1.3. ๓. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู

1.2.1.4. ๔. พูดสื่อสารได้ตามวัตุประสงค์

1.2.1.5. ๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

1.2.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1.2.2.1. • การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำคำสั่งง่ายๆ

1.2.2.2. • การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง เช่น -เรื่องเล่าและสารคดีสำหรับเด็ก -นิทาน -การ์ตูน

1.2.2.3. • การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน เช่น -การแนะนำตนเอง -การขอความช่วยเหลือ -การกล่าวคำขอบคุณ -การกล่าวคำขอโทษ

1.2.2.4. • มารยาทในการฟัง เช่น -ตั้งใจฟังตามองผู้พูด -ไม่รบกวนผู้อื่นขณะที่ฟัง -ไม่ควรนำอาหารหรือเครื่องดื่มมารับประทานในขณะที่ฟัง

1.2.2.5. • มารยาทในการดู เช่น -ตั้งใจดู -ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิผู้อื่น

1.2.2.6. • มารยาทในการพูด เช่น -ใช้ถ้อยคำและกิริยาที่สุภาพเหมาะสมกับกาละเทศะ -ใช้น้ำเสียงนุ่มนวล -ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ผู้อื่นกำลังพูด

1.3. ป.๒

1.3.1. ตัวชี้วัด

1.3.1.1. ๑. ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม

1.3.1.2. ๒. เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง

1.3.1.3. ๓. บอกสาระสำคัญของเรื่องที่ฟังและดู

1.3.1.4. ๔. ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังแลดู

1.3.1.5. ๕. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู

1.3.1.6. ๖. พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์

1.3.1.7. ๗. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

1.3.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1.3.2.1. • การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำคำสั่งที่ซับซ้อน

1.3.2.2. • การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง เช่น -เรื่องเล่าและสารคดีสำหรับเด็ก -นิทาน การ์ตูน และเรื่องขุขันธ์ -รายการสำหรับเด็ก -เพลง

1.3.2.3. • การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน เช่น -การแนะนำตนเอง -การขอความช่วยเหลือ -กล่าวคำขอบคุณ -การกล่าวคำขอโทษ -การเล่าประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน

1.3.2.4. • มารยาทในการฟัง เช่น -ตั้งใจฟัง ตามองผู้พูด -ไม่รบกวนผู้อื่นขณะที่ฟัง -ไม่ควรทานอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะที่ฟัง -ไม่พูดสอดแทรกขณะที่ฟัง

1.3.2.5. • มารยาทในการดู เช่น -ตั้งใจดู -ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิผู้อื่น

1.3.2.6. • มารยาทในการพูด เช่น -ใช้ถ้อยคำและกิริยาที่สุภาพเหมาะสมกับกาละเทศะ -ใช้น้ำเสียงนุ่มนวล -ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ผู้อื่นกำลังพูด

1.4. ป.๓

1.4.1. ตัวชี้วัด

1.4.1.1. ๑. เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง

1.4.1.2. ๒. บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู

1.4.1.3. ๓. ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังแลดู

1.4.1.4. ๔. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู

1.4.1.5. ๕. พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์

1.4.1.6. ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

1.4.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1.4.2.1. •การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง เช่น -เรื่องเล่าและสารคดีสำหรับเด็ก -นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขัน -รายการสำหรับเด็ก

1.4.2.2. • การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน เช่น -การแนะนำตนเอง -การแนะนำสถานที่ในโรงเรียนและชุมชน -การแนะนำ เชิญชวนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในด้านต่างๆ เช่น การรักษาความสะอาดของร่างกาย -การเล่าประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน -การพูดในโอกาส เช่น การพูดทักทาย การกล่าวขอบคุณและขอโทษ

1.4.2.3. • มารยาทในการฟัง เช่น -ตั้งใจฟัง ตามองผู้พูด -ไม่รบกวนผู้อื่นขณะที่ฟัง -ไม่ควรนำอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะที่ฟัง -ไม่แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม -ให้เกียรติผู้ใต้ด้วยกันปรบมือ

1.4.2.4. • มารยาทในการดู เช่น -ตั้งใจดู -ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิผู้อื่น

1.4.2.5. • มารยาทในการพูด เช่น -ใช้ถ้อยคำและกิริยาที่สุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะ -ใช้น้ำเสียงนุ่มนวล -ไม่พูดล้อเลียนให้ผู้อื่นได้รับความอับอายหรือเสียหาย

1.5. ป.๔

1.5.1. ตัวชี้วัด

1.5.1.1. ๑. จำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู

1.5.1.2. ๒. พูดสรุปความจากการฟังและดู

1.5.1.3. ๓. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู

1.5.1.4. ๔. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู

1.5.1.5. ๕. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา

1.5.1.6. ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

1.5.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1.5.2.1. • การจำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดูในชีวิตประจำวัน

1.5.2.2. • การจับใจความและการพูดแสดงความรู้ ความคิดในเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ เช่น -เรื่องเล่า -บทความสั้นๆ -โฆษณา -สื่ออิเล็กทรอนิกส์

1.5.2.3. • การรายงาน เช่น -การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน -การพูดลำดับเหตุการณ์

1.5.2.4. • มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

1.6. ป.๕

1.6.1. ตัวชี้วัด

1.6.1.1. ๑. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู

1.6.1.2. ๒. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู

1.6.1.3. ๓. วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล

1.6.1.4. ๔. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา

1.6.1.5. ๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

1.6.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1.6.2.1. • การจับใจความและการพูดแสดงความรู้ ความคิดในเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ เช่น -เรื่องเล่า -บทความ -ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน -โฆษณา -สื่ออิเล็กทรอนิกส์

1.6.2.2. การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูในชีวิตประจำวัน

1.6.2.3. • การรายงาน เช่น -การการพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน -การพูดลำดับเหตุการณ์

1.6.2.4. • มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

1.7. ป.๖

1.7.1. ตัวชี้วัด

1.7.1.1. ๑. พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจ จุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู

1.7.1.2. ๒. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู

1.7.1.3. ๓. วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล

1.7.1.4. ๔. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา

1.7.1.5. ๕. พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ

1.7.1.6. ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

1.7.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1.7.2.1. • การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ ได้แก่ -สื่อสิ่งพิมพ์ -สื่ออิเล็กทรอนิกส์

1.7.2.2. การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูสื่อโฆษณา

1.7.2.3. • การรายงาน เช่น -การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน -การพูดลำดับเหตุการณ์

1.7.2.4. • การพูดโน้มน้าวในสถานการณ์ต่างๆ เช่น -การเลือกตั้งกรรมการนักเรียน -การรณรงค์ด้านต่างๆ -การโต้วาที

1.7.2.5. • มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

2. สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย

2.1. มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

2.2. ป.๑

2.2.1. ตัวชี้วัด

2.2.1.1. ๑. บอกเเละเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย

2.2.1.2. ๒. เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ

2.2.1.3. ๓. เรียบเรียงคำที่เป็นประโยคง่ายๆ

2.2.1.4. ๔. ต่อคำคล้องจองง่ายๆ

2.2.2. สาระการเรียนรู้เเกนกลาง

2.2.2.1. • พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์

2.2.2.2. • เลขไทย

2.2.2.3. • การสะกดคำ การแจกลูก และการอ่านเป็นคำ

2.2.2.4. • มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา

2.2.2.5. • การผันคำ

2.2.2.6. • ความหมายของคำ

2.2.2.7. • การแต่งประโยค

2.2.2.8. • คำคล้องจอง

2.3. ป.๒

2.3.1. ตัวชี้วัด

2.3.1.1. ๑. บอกเเละเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย

2.3.1.2. ๒. เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ

2.3.1.3. ๓. เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร

2.3.1.4. ๔. บอกบักษณะคำคล้องจอง

2.3.1.5. ๕. เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

2.3.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

2.3.2.1. • การสะกดคำ การแจกลูก และการอ่านเป็นคำ

2.3.2.2. • มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา

2.3.2.3. • การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ

2.3.2.4. • คำที่มีตัวการันต์

2.3.2.5. • คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ

2.3.2.6. • คำที่มีอักษรนำ

2.3.2.7. • คำที่มีความหมายตรงข้ามกัน

2.3.2.8. • คำที่มี รร

2.3.2.9. • ความหมายของคำ

2.3.2.10. • การแต่งประโยค

2.3.2.11. • การเรียบเรียงประโยคเป็นข้อความสั้นๆ

2.3.2.12. • คำคล้องจอง

2.3.2.13. • ภาษาไทยมาตรฐาน

2.3.2.14. • ภาษาถิ่น

2.4. ป.๓

2.4.1. ตัวชี้วัด

2.4.1.1. ๑. เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ

2.4.1.2. ๒. ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค

2.4.1.3. ๓. ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ

2.4.1.4. ๔. แต่งประโยคง่ายๆ

2.4.1.5. ๕. แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ

2.4.1.6. ๖. เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

2.4.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

2.4.2.1. • การสะกดคำ การแจกลูก และการอ่านเป็นคำ

2.4.2.2. • มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา

2.4.2.3. • การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ

2.4.2.4. • คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ

2.4.2.5. • คำที่มีอักษรนำ

2.4.2.6. • คำที่มีประวิสรรชนีย์และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์

2.4.2.7. • คำที่มี ฤ ฤๅ

2.4.2.8. • คำที่ใช้ บัน บรร

2.4.2.9. • คำที่ใช้ รร

2.4.2.10. • คำที่มีตัวการันต์

2.4.2.11. • ความหมายของคำ

2.4.2.12. • ชนิดและหน้าที่ของคำ ได้แก่ -คำนาม -คําสรรพนาม -คำกริยา

2.4.2.13. • การใช้พจนานุกรม

2.4.2.14. • การแต่งประโยคเพื่อการสื่อสาร ได้แก่ -ประโยคบอกเล่า -ประโยคปฏิเสธ -ประโยคคำถาม -ประโยคขอร้อง -ประโยคคำสั่ง

2.4.2.15. • คำคล้องจอง

2.4.2.16. • คำขวัญ

2.4.2.17. • ภาษาไทยมาตรฐาน

2.4.2.18. • ภาษาถิ่น

2.5. ป.๔

2.5.1. ตัวชี้วัด

2.5.1.1. ๑. สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่างๆ

2.5.1.2. ๒. ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค

2.5.1.3. ๓. ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ

2.5.1.4. ๔. แต่งประโยคให้ถูกต้องตามหลักภาษา

2.5.1.5. ๕. แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ

2.5.1.6. ๖. บอกความหมายของสำนวน

2.5.1.7. ๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้

2.5.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

2.5.2.1. • คำในแม่ ก กา

2.5.2.2. • มาตราตัวสะกด

2.5.2.3. • การผันอักษร

2.5.2.4. • คำเป็น คำตาย

2.5.2.5. • คำพ้อง

2.5.2.6. • ชนิดและหน้าที่ของคำ ได้แก่ -คำนาม -คําสรรพนาม -คำกริยา -คำวิเศษณ์

2.5.2.7. • การใช้พจนานุกรม

2.5.2.8. • ประโยคสามัญ ได้แก่ -ส่วนประกอบของประโยค -ส่วนประกอบ 2ส่วน -ประโยค 3 ส่วน

2.5.2.9. • กลอนสี่

2.5.2.10. • คำขวัญ

2.5.2.11. • สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต

2.5.2.12. • ภาษาไทยมาตรฐาน

2.5.2.13. • ภาษาถิ่น

2.6. ป.๕

2.6.1. ตัวชี้วัด

2.6.1.1. ๑. ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค

2.6.1.2. ๒. จำแนกส่วนประกอบของประโยค

2.6.1.3. ๓. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น

2.6.1.4. ๔. ใช้คำราชาศัพท์

2.6.1.5. ๕. บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

2.6.1.6. ๖. แต่งบทร้อยกรอง

2.6.1.7. ๗. ใช้สำนวนได้ถูกต้อง

2.6.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

2.6.2.1. • ชนิดและหน้าที่ของคำ ได้แก่ -คําบุพบท -คําสันธาน -คำอุทาน

2.6.2.2. • ประโยคและส่วนประกอบของประโยค

2.6.2.3. • ภาษาไทยมาตรฐาน

2.6.2.4. • ภาษาถิ่น

2.6.2.5. • คำราชาศัพท์

2.6.2.6. • คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ

2.6.2.7. • กาพย์ยานี๑๑

2.6.2.8. • สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต

2.7. ป.๖

2.7.1. ตัวชี้วัด

2.7.1.1. ๑. วิเคาระห์ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค

2.7.1.2. ๒. ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล

2.7.1.3. ๓. รวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย

2.7.1.4. ๔. ระบุลักษณะของประโยค

2.7.1.5. ๕. แต่งบทร้อยกรอง

2.7.1.6. ๖. วิเคราะห์และเปรียบเทียบสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต

2.7.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

2.7.2.1. • ชนิดและหน้าที่ของคำ ได้แก่ -คำนาม -คําสรรพนาม -คำกริยา -คำวิเศษณ์ -คําบุพบท -คําเชื่อม -คำอุทาน

2.7.2.2. • คำราชาศัพท์

2.7.2.3. • ระดับภาษา

2.7.2.4. • ภาษาถิ่น

2.7.2.5. • คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ

2.7.2.6. • กลุ่มคำหรือวลี

2.7.2.7. • ประโยคสามัญ

2.7.2.8. • ประโยครวม

2.7.2.9. • ประโยคซ้อน

2.7.2.10. • กลอนสุภาพ

2.7.2.11. • สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต

3. สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

3.1. มาตรฐาน ท. ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

3.2. ป.๑

3.2.1. ตัวชี้วัด

3.2.1.1. ๑. บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

3.2.1.2. ๒. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ

3.2.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.2.2.1. • วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก เช่น -นิทาน -เรื่องสั้นง่ายๆ -ปริศนาคําทาย -บทร้องเล่น -บทอาขยาน -บทร้อยกรอง -วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน

3.2.2.2. • บทอาขยานและบทร้อยกรอง ได้แก่ -บทอาขยานตามที่กำหนด -บทร้อยกรองตามความสนใจ

3.3. ป.๒

3.3.1. ตัวชี้วัด

3.3.1.1. ๑. บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสำหรับเด็กเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

3.3.1.2. ๒. ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น

3.3.1.3. ๓. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

3.3.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.3.2.1. • วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก เช่น -นิทาน -เรื่องสั้นง่ายๆ -ปริศนาคําทาย -บทอาขยาน -บทร้อยกรอง -วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน

3.3.2.2. • บทร้องเล่นที่มีคุณค่า เช่น -บทร้องเล่นในท้องถิ่น -บทร้องเล่นในการละเล่นของเด็กไทย

3.3.2.3. • บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า เช่น -บทอาขยานตามที่กำหนด -บทร้อยกรองตามความสนใจ

3.4. ป.๓

3.4.1. ตัวชี้วัด

3.4.1.1. ๑. ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

3.4.1.2. ๒. รู้จักเพลงพื้นบ้านและเพลงกล่อมเด็กเพื่อปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น

3.4.1.3. ๓. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน

3.4.1.4. ๔. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

3.4.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.4.2.1. • วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบ้าน เช่น -นิทานหรือเรื่องในท้องถิ่น -เรื่องสั้นง่ายๆ ปริศนาคำทาย -บทร้อยกรอง -เพลงพื้นบ้าน -เพลงกล่อมเด็ก

3.4.2.2. • บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า เช่น -บทอาขยานตามที่กำหนด -บทร้อยกรองตามความสนใจ

3.5. ป.๔

3.5.1. ตัวชี้วัด

3.5.1.1. ๑. ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม

3.5.1.2. ๒. อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริง

3.5.1.3. ๓. ร้องเพลงพื้นบ้าน

3.5.1.4. ๔. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

3.5.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.5.2.1. • วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น -นิทานพื้นบ้าน -นิทานคติธรรม -เพลงพื้นบ้าน -วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความสนใจ

3.5.2.2. • เพลงพื้นบ้าน

3.5.2.3. • บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า เช่น -บทอาขยานตามที่กำหนด -บทร้อยกรองตามความสนใจ

3.6. ป.๕

3.6.1. ตัวชี้วัด

3.6.1.1. ๑. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน

3.6.1.2. ๒. ระบุความรู้หรือข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง

3.6.1.3. ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม

3.6.1.4. ๔. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

3.6.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.6.2.1. • วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น -นิทานพื้นบ้าน -นิทานคติธรรม -เพลงพื้นบ้าน -วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนตามความสนใจ

3.6.2.2. • บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า เช่น -บทอาขยานตามที่กำหนด -บทร้อยกรองตามความสนใจ

3.7. ป.๖

3.7.1. ตัวชี้วัด

3.7.1.1. ๑. แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน

3.7.1.2. ๒. เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและนิทานพื้นบ้านของท้องถิ่นอื่น

3.7.1.3. ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

3.7.1.4. ๔. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

3.7.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.7.2.1. • วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น -นิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเอง -นิทานคติธรรม -เพลงพื้นบ้าน -วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความสนใจ

3.7.2.2. • บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า เช่น -บทอาขยานตามที่กำหนด -บทร้อยกรองตามความสนใจ

4. สาระที่ ๑ การอ่าน

4.1. มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

4.2. ป.๑

4.2.1. ตัวชี้วัด

4.2.1.1. ๑. อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจองและข้อความสั้นๆ

4.2.1.2. ๒. บอกความหมายของคำและข้อความที่อ่าน

4.2.1.3. ๓. ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน

4.2.1.4. ๔. เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน

4.2.1.5. ๖. อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน

4.2.1.6. ๗. บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน

4.2.1.7. ๘. มีมารยาทในการอ่าน

4.2.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

4.2.2.1. • การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง และข้อความที่ประกอบด้วย คำพื้นฐาน คือคำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่น้อยกว่า ๖๐๐ คำ

4.2.2.2. • การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น -นิทาน -เรื่องสั้นๆ -บทร้องเล่นและบทเพลง -เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระภาษาไทย และกลุ่มสาระเรียนรู้อื่น

4.2.2.3. • การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น -หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย -หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน

4.2.2.4. • การอ่านเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ ประกอบด้วย -เครื่องหมายสัญลักษณ์ต่างๆที่พบในชีวิตประจำวัน -เครื่องหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอันตราย

4.2.2.5. • มารยาทในการอ่าน เช่น -ไม่อ่านเสียงดังรบกวนคนอื่น -ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน -ไม่ทำลายหนังสือ

4.3. ป.๒

4.3.1. ตัวชี้วัด

4.3.1.1. ๑.อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง

4.3.1.2. ๒. อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน

4.3.1.3. ๓.ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน

4.3.1.4. ๔. ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน

4.3.1.5. ๕. แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน

4.3.1.6. ๖. อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน

4.3.1.7. ๗. อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ

4.3.1.8. ๘. มีมารยาทในการอ่าน

4.3.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

4.3.2.1. • การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ที่ประกอบด้วยคำพื้นฐานเพิ่มจากป.๑ ไม่น้อยกว่า๘๐๐ คำ

4.3.2.2. • การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น -นิทาน -เรื่องเล่าสั้นๆ -บทเพลงและบทร้อยกรองง่ายๆ -เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระภาษาไทย และสาระอื่น -ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน

4.3.2.3. • การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น -หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย -หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน

4.3.2.4. • การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ เช่น -การใช้สถานที่สาธารณะ -คำแนะนำการใช้เครื่องใช้ที่จำเป็นในบ้านและโรงเรียน

4.3.2.5. • มารยาทในการอ่าน เช่น -ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น -ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน -ไม่ทำลายหนังสือ -ไม่ควรแย่งกันอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกำอ่านอยู่

4.4. ป. ๓

4.4.1. ตัวชี้วัด

4.4.1.1. ๑. อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว

4.4.1.2. ๒. อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน

4.4.1.3. ๓.ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน

4.4.1.4. ๔. ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ

4.4.1.5. ๕. สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

4.4.1.6. ๖. อ่านหนังตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน

4.4.1.7. ๗. อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฎิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ

4.4.1.8. ๘. อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ ปละแผนภูมิ

4.4.1.9. ๙. มีมารยาทในการอ่าน

4.4.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

4.4.2.1. • การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆที่ประกอบด้วยคำพื้นฐานเพิ่มมากจากป.๒ ไม่น้อยกว่า ๑๒๐๐ คำ

4.4.2.2. • การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น - นิทานหรือเรื่องเกี่ยวกับท้องถิ่น -เรื่องเล่าสั้นๆ -บทเพลงและบทร้อยกรอง -บทเรียนในกลุ่มการเรียนรู้อื่น -ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันในท้องถิ่นและชุมชน

4.4.2.3. • การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น -หนังสือที่นักสนใจและเหมาะสมกับวัย -หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน

4.4.2.4. • การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ เช่น -คำแนะนำต่างๆในชีวิตประจำวัน -ประกาศ ป้ายโฆษณา และคำขวัญ

4.4.2.5. • การอ่านข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ

4.4.2.6. • มารยาทในการอ่าน เช่น -ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น -ไม่เล่นกันขณะที่อ่าน -ไม่ทำลายหนังสือ -ไม่ควรแย่งกันอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ผู้อื่นกำอ่านอยู่

4.5. ป. ๔

4.5.1. ตัวชี้วัด

4.5.1.1. ๑. อ่านออกเสียงบทร้องแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง

4.5.1.2. ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเรื่องที่อ่าน

4.5.1.3. ๓. อ่านเรื่องสั้นๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน

4.5.1.4. ๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน

4.5.1.5. ๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ

4.5.1.6. ๖. สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

4.5.1.7. ๗. อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน

4.5.1.8. ๘. มีมารยาทในการอ่าน

4.5.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

4.5.2.1. • การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย -คำที่มี ร ล ที่เป็นพยัญชนะต้น -คำทีมีพยัญชนะควบกล้ำ -คำที่มีอักษรนำ -คำประสม -อักษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน -ประโยคที่มีสำนวนเป็นคำพังเพย สุภาษิต ปริศนาคำทาย และเครื่องหมายวรรคตอน

4.5.2.2. • การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ

4.5.2.3. • การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น -เรื่องสั้น -เรื่องเล่าจากประสบการณ์ -นิทานชาดก -บทความ -บทโฆษณา -งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ -ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน -สารคดีและบันเทิงคดี

4.5.2.4. • การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น -หนังสือที่นักสนใจและเหมาะสมกับวัย -หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน

4.5.2.5. • มารยาทในการอ่าน

4.6. ป.๕

4.6.1. ตัวชี้วัด

4.6.1.1. ๑.อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง

4.6.1.2. ๒.อธิบายควาทหมายของคำ ประโยค และข้อความที่เป็นที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา

4.6.1.3. ๓. อธิบายความหมายโดยนัยนากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย

4.6.1.4. ๔.แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่า

4.6.1.5. ๕.วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต.

4.6.1.6. ๖.อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม

4.6.1.7. ๗. อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน

4.6.1.8. ๘.มีมารายามฃทในการอ่าน

4.6.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

4.6.2.1. • การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย -คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ -คำที่มีอักษรนำ -คำที่มีตัวการันต์ -อักษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน -ข้อความที่เป็นการบรรยายและพรรณนา -ข้อความที่มีความหมายโดยนัย

4.6.2.2. • การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ

4.6.2.3. • การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น -วรรณคดีในบทเรียน -บทความ -บทโฆษณา -งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ -ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน

4.6.2.4. • การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม เช่น -การใช้พจนานุกรม -การใช้วัสดุอุปกรณ์ -การอ่านฉลากยา -คู่มือและเอกสารของโรงเรียนที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน -ข่าวสารทางราชการ

4.6.2.5. • การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น -หนังสือที่นักสนใจและเหมาะสมกับวัย -หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน

4.6.2.6. • มารยาทในการอ่าน

4.7. ป.๖.

4.7.1. ตัวชี้วัด

4.7.1.1. ๑.อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้องกรองได้ถูกต้อง

4.7.1.2. ๒.อธิบายความหมายของคำ ประโยค และข้อความที่เป็นโวหาร

4.7.1.3. ๓.อ่านเรื่องสั้นๆ อย่างหลากหลายโดยจับเวลาแล้วถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน

4.7.1.4. ๔.แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน

4.7.1.5. ๕.อธิบายการนำความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต

4.7.1.6. ๖. อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม

4.7.1.7. ๗. อธิบายความหมายของข้อมูล จากากรอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ

4.7.1.8. ๘. อ่านหนังสือตามความสนใจ และอธิบายคุณค่าที่ได้รับ

4.7.1.9. ๙. มีมารยาทในการอ่าน

4.7.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

4.7.2.1. • การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ประกอบด้วย -คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ -คำที่มีอักษรนำ -คำที่มีตัวการันต์ -คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ -อักษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน -วัน เดือน ปีแบบไทย -ข้อความที่เป็นโวหารต่างๆ -สำนวนเปรียบเทียบ

4.7.2.2. • การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ

4.7.2.3. • การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น -เรื่องสั้นๆ -นิทานและเพลงพื้นบ้าน -บทความ -พระบรมราโชวาท -สารคดี -เรื่องสั้น -งานเขียนประเภทโน้มน้าว -บทโฆษณา -ข่าว และเหตุการณ์สำคัญ

4.7.2.4. • การอ่านเร็ว

4.7.2.5. • การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม เช่น -การใช้พจนานุกรม -การปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันในสังคม -ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันในโรงเรียนและการใช้สถานที่สาธารณะในชุมชนและท้องถิ่น

4.7.2.6. • การอ่านข้อมูลจากากรอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ

4.7.2.7. •การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น -หนังสือที่นักสนใจและเหมาะสมกับวัย -หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน

4.7.2.8. •มารยาทในการอ่าน

5. สาระที่ ๒ การเขียน

5.1. มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

5.2. ป.๑

5.2.1. ตัวชี้วัด

5.2.1.1. ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด

5.2.1.2. ๒. เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ

5.2.1.3. ๓. มีมารยาทในการเขียน

5.2.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

5.2.2.1. • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

5.2.2.2. • การเขียนสื่อสาร เช่น -คำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน -คำพื้นฐานในบทเรียน -คำคล้องจอง -ประโยคง่ายๆ

5.2.2.3. • มารยาทในการเขียน เช่น -เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า -ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ -ใช้ภาษาเขียนให้เหมาะสม

5.3. ป.๒

5.3.1. ตัวชี้วัด

5.3.1.1. ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด

5.3.1.2. ๒. เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์

5.3.1.3. ๓. เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ

5.3.1.4. ๔. มีมารยาทในการเขียน

5.3.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

5.3.2.1. •การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนอักษรไทย

5.3.2.2. •การเขียนเรื่องสั้นๆเกี่ยวกับประสบการณ์

5.3.2.3. •การเขียนเรื่องสั้นๆตามจินตนาการ

5.3.2.4. • มารยาทในการเขียน เช่น -เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า -ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ -ใช้ภาษาเขียนให้เหมาะสม -ไม่เขียนล้อเลียนผู้อื่น

5.4. ป.๓

5.4.1. ตัวชี้วัด

5.4.1.1. ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด

5.4.1.2. ๒. เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างชัดเจน

5.4.1.3. ๓. เขียนบันทึกประจำวัน

5.4.1.4. ๔. เขียนจดหมายลาครู

5.4.1.5. ๕. เขียนเรื่องตามจินตนาการ

5.4.1.6. ๖. มีมารยาทในการเขียน

5.4.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

5.4.2.1. • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

5.4.2.2. • การเขียนบันทึกประจำวัน

5.4.2.3. • การเขียนจดหมายลาครู

5.4.2.4. • การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคำภาพ และหัวข้อที่กำหนด

5.4.2.5. • มารยาทในการเขียน เช่น -เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า -ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ -ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล

5.5. ป.๔

5.5.1. ตัวชี้วัด

5.5.1.1. ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด

5.5.1.2. ๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม

5.5.1.3. ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน

5.5.1.4. ๔. เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ

5.5.1.5. ๕. เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา

5.5.1.6. ๖. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า

5.5.1.7. ๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ

5.5.1.8. ๘. มีมารยาทใรการเขียน

5.5.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

5.5.2.1. • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

5.5.2.2. • การเขียนสื่อสาร เช่น -คําขวัญ -คำแนะนำ

5.5.2.3. • การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขียน

5.5.2.4. • การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภทต่างๆ ประกาศ จดหมาย คำสอน

5.5.2.5. • การเขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา

5.5.2.6. • การเขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า

5.5.2.7. • การเขียนเรื่องตามจินตนาการ

5.5.2.8. • มารยาทในการเขียน

5.6. ป.๕

5.6.1. ตัวชี้วัด

5.6.1.1. ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด

5.6.1.2. ๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม

5.6.1.3. ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียนเ

5.6.1.4. ๔. เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน

5.6.1.5. ๕. เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ

5.6.1.6. ๖. เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา

5.6.1.7. ๗. กรอกแบบรายการต่างๆ

5.6.1.8. ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการ

5.6.1.9. ๙. มีมารยาทในการเขียน

5.6.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

5.6.2.1. • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

5.6.2.2. • การเขียนสื่อสาร เช่น -คําขวัญ -คําอวยพร -คำแนะนำและคำอธิบายแสดงขั้นตอน

5.6.2.3. • การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขียน

5.6.2.4. • การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภทต่างๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท ปราศรัย

5.6.2.5. • การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ

5.6.2.6. • การเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น

5.6.2.7. • การกรอกแบบรายการ เช่น -ใบฝากเงินและใบถอนเงิน -ธนบัตร -แบบฝากส่งพัสดุไปรษณีย์ภัณฑ์

5.6.2.8. • การเขียนเรื่องตามจินตนาการ

5.6.2.9. • มารยาทในการเขียน

5.7. ป.๖

5.7.1. ตัวชี้วัด

5.7.1.1. ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด

5.7.1.2. ๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม

5.7.1.3. ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียนเ

5.7.1.4. ๔. เขียนเรียงความ

5.7.1.5. ๕. เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน

5.7.1.6. ๖. เขียนจดหมายส่วนตัว

5.7.1.7. ๗. กรอกแบบรายการต่างๆ

5.7.1.8. ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์

5.7.1.9. ๙. มีมารยาทในการเขียน

5.7.2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

5.7.2.1. • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

5.7.2.2. • การเขียนสื่อสาร เช่น -คําขวัญ -คําอวยพร -ประกาศ

5.7.2.3. • การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด

5.7.2.4. • การเขียนเรียงความ

5.7.2.5. • การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภทต่างๆ ประกาศ แจ้งความ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน์ ระเบียบ รายงาน คำสั่ง

5.7.2.6. • การเขียนจดหมายส่วนตัว เช่น -จดหมายขอโทษ -จดหมายแสดงความขอบคุณ -จดหมายแสดงความเห็นใจ -จดหมายแสดงความยินดี

5.7.2.7. • การกรอกแบบรายการ เช่น -แบบคำร้องต่างๆ -ใบสมัครศึกษาต่อ -แบบฝากส่งพัสดุและไปรษณีย์ภัณฑ์

5.7.2.8. • การเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์

5.7.2.9. •มารยาทในการเขียน