การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและการเมืองของสยาม (อยุธยา-ต้นรัตนโกสินทร์)

Laten we beginnen. Het is Gratis
of registreren met je e-mailadres
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและการเมืองของสยาม (อยุธยา-ต้นรัตนโกสินทร์) Door Mind Map: การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและการเมืองของสยาม (อยุธยา-ต้นรัตนโกสินทร์)

1. - การพัฒนาเศรษฐกิจใหม่

1.1. - จากของป่า → สินค้าเกษตร

1.2. - เศรษฐกิจเงินตรา/เพื่อส่งออก

1.3. - ขุดคลอง/ชลประทานขยายพื้นที่นา

2. การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและการเมืองของสยาม (อยุธยา-ต้นรัตนโกสินทร์)

3. - พระมหากษัตริย์ vs ขุนนาง

3.1. - ความสัมพันธ์แบบพึ่งพาและแข่งขัน

3.2. - ตระกูลบุนนาคกับอิทธิพลสูงสุด

3.3. - รายได้หลวงลดลงช่วงอำนาจขุนนาง

3.4. - การปฏิรูประบบราชการ-รัฐรวมศูนย์

4. - ระบบแรงงานและที่ดิน

4.1. - เสื่อมของระบบไพร่

4.2. - การใช้ภาษีรัชชูปการแทนแรงงาน

4.3. - ลดอำนาจขุนนาง-เพิ่มอำนาจกษัตริย์

4.4. - เจ้าขุนมูลนายกลายเป็นเจ้าที่ดิน

4.5. - รัฐส่งเสริมชาวนาบุกเบิกที่ดิน

5. - การเปลี่ยนผ่านสู่รัตนโกสินทร์

5.1. - ฟื้นฟูการค้าต่างประเทศ

5.2. - การเกณฑ์แรงงานและดึงคนจากนอก

5.3. - การค้าเสรี-โยงเศรษฐกิจโลก

5.4. - เปลี่ยนสินค้าส่งออก: เกษตร/อุตสาหกรรม

5.5. - ข้าวกลายเป็นสินค้าหลัก

6. - ระบบเศรษฐกิจ-การเมืองอยุธยา

6.1. - การผูกขาดสินค้าและค้าสำเภาโดยรัฐ

6.2. - การค้าส่งผ่านในช่วงต้น

6.3. - ส่วยและของป่าในช่วงปลาย

6.4. - เศรษฐกิจหมู่บ้านแบบพอยังชีพ

6.5. - เมืองเพื่อการปกครอง มากกว่าการค้า

7. - ความสำคัญของภูมิศาสตร์และทรัพยากร

7.1. - ทำเลอยุธยา: เกาะล้อมด้วยแม่น้ำ 3 สาย

7.2. - จุดบรรจบแม่น้ำหลายสาย: ศูนย์กลางคมนาคม

7.3. - ที่ราบลุ่มภาคกลาง: แหล่งผลิตข้าวหลัก

7.4. - ของป่า: รายได้สำคัญของรัฐอยุธยา