สิ่งที่ได้เรียนรู้ใน 700

Laten we beginnen. Het is Gratis
of registreren met je e-mailadres
สิ่งที่ได้เรียนรู้ใน 700 Door Mind Map: สิ่งที่ได้เรียนรู้ใน 700

1. นวัตกรรม คือ สิ่่งที่เกิดขึ้นใหม่ หรือกระบวนการคิดใหม่ ที่ยังไม่เคยหรือยังไม่เป็นที่แพร่หลายในวงกว้าง

2. สื่อที่เป็นกิจกรรม/กระบวนการ กิจกรรมหรือกระบวนการที่ผู้สอนและผู้เรียนกำหนดขึ้นเพื่อสร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้

2.1. โครงงาน เกม เพลง บทบาทสมมติ การสาธิต การจัดนิทรรศการ การทำโครงงาน

3. การรู้จักและตีความหมายของสิ่งต่างๆ ในโลกของแต่ละบุคคลนั้น เกิดจากการสร้างแนวคิดของ ตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นวัตถุจริง

4. ความหมายและปรัชญาของกลุ่มพุทธิปัญญานิยม

5. การออกแบบสื่อการเรียนรู้มีหลักการอย่างไร

6. ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษาประกอบด้วย 5ขอบข่ายใหญ่

6.1. การออกแบบ design คือ กระบวนการในการกำหนกดสภาพของการเรียนรู้

6.2. การพัฒนา development เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนการออกแบบ

6.3. การใช้ utillization เป็นการใช้กระบวนการและแหล่งทรัพยากรการเรียนการสอน

6.4. การจัดการ management เป็นการควบคุมกระบวนการทางเทคโนโลยีการศึกษาตลอดจนการวางแผน การจัดการ การะประสานงานและให้คำแนะนำ

6.5. การประเมิน evaluation กระบวนการหาข้อมูลเพื่อกำหนดความเหมาะสมของการเรียนการสอน

7. การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีพฤติกรรมนิยม

7.1. ความหมายและปรัชญาของกลุ่มพฤติกรรมนิยม

7.1.1. การเรียนรู้ที่มีพฤฏิกรรมการเรียนรูปแบบเดิม เข่นท่องจำ

7.2. ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ประกอบด้วยแนวคิดสำคัญ 3 แนวคิด

7.2.1. 1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)

7.2.2. 2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)

7.2.3. 3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory)

7.3. การเรียนรู้คืออะไร

7.3.1. การเรียนรู้โดยครูเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียน

8. เทคโนโลยีคืออะไร

8.1. เทคโนโลยี คือ การใช้ความคิด หลักการ เทคนิค เครื่องมือ มาประยุกต์ใช้เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

9. เทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างกันอย่างไร

9.1. นวัตกรรมเป็นสิ่งใหม่ที่ยังไม่เป็นที่ยอมรับนักในวงกว้าง แต่เทคโนโลยีได้รับการยอมรับและนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์

10. สื่อการเรียนรู้

10.1. สื่อการเรียนรู้คืออะไร

10.1.1. คือ วัสดุ อุปกรณ์ วิธีการ คน สัตว์ สิ่งของ หรือแนวความคิดที่ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มประสบการณ์หรือเป็นเครื่องมือที่กระตุ้นให้เกิดการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

10.2. สื่อการเรียนรู้มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

10.2.1. 6 ประเภท

10.2.1.1. สื่อสิ่งพิมพ์ คือหนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่แสดงหรือเรียบเรียงสาระความรู้ต่าง ๆ โดยใช้ตัวหนังสือ

10.2.1.1.1. เอกสาร หนังสือเรียน

10.2.1.2. สื่อเทคโนโลยี คือ สื่อการเรียนรู้ที่ผลิตขึ้นใช้ควบคู่กับเครื่องมือโสตทัศนวัสดุ หรือเครื่องมือที่เป็น เทคโนโลยีใหม่ ๆ

10.2.1.2.1. ภาพนิ่ง สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

10.2.1.3. สื่อบุคคล/ภูมิปัญญาท้องถิ่น บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ซึ่งสามารถถ่ายทอด สาระความรู้ แนวคิดและ ประสบการณ์ไปสู่บุคคลอื่น

10.2.1.3.1. บุคลากรในท้องถิ่น

10.2.1.3.2. บุคลากรในมหาวิทยาลัย

10.2.1.4. สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ สิ่งมีอยู่ตามธรรมชาติและสภาพแวดล้อมตัวผู้เรียน

10.2.1.4.1. พืชผักผลไม้ ห้องปฏิบัติการ

10.2.1.5. สื่อวัสดุอุปกรณ์ คือวัสดุที่ประดิษฐ์ขึ้นใช้เพื่อประกอบการเรียนรู้

10.2.1.5.1. อุปกรณ์ทดลองวิทยาศาสตร์

10.2.1.5.2. โปรเจคเตอร์

10.3. ลักษณะของสื่อการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีต่างๆ

10.3.1. การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม

10.3.1.1. การเรียนรู้คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือเกิดจากการฝึกหัด

10.3.1.2. เชื่อว่า

10.3.1.2.1. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทาให้มีการแสดงพฤติกรรมนั้นถี่มากขึ้น

10.3.1.2.2. ความรู้เป็นสิ่งที่คงทน ต้องได้รับการถ่ายทอดจากผู้มีความรู้มากสู่ผู้มีความรู้น้อยเท่านั้น

10.3.2. การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม

10.3.2.1. การเรียนรู้คือ การเรียนรู้ที่ผ่านกระบวนการคิด ไตร่ตรอง การให้เหตุผลของผู้เรียน

10.3.2.2. เชื่อว่า

10.3.2.2.1. การเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าการตอบสนอง โดยให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจ หรือการรู้คิดของมนุษย์

10.3.3. การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

10.3.3.1. การเรียนรู้คือกระบวนการสร้าง มากกว่าการรับรู็

10.3.3.2. เชื่อว่า

10.3.3.2.1. ความรู้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ไม่หยุดนิ่ง ผู้เรียนต้องมีการพัฒนา ค้นคว้าความร้อยู่เสมอ

10.3.3.2.2. ความรู้เป็นสิ่งที่ต้องสร้างขึ้น ไม่ใช่สิ่งที่จีรังยั่งยืน และเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา

10.3.3.3. จะเรียนรู้อย่างไร

10.3.3.3.1. เป็นการเรียนรู้ซึ่งให้ผู้เรียนศึกษาความรู้จากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ นอกเหนือจากความรู้ที่ได้รับจากอาจารย์เพียงอย่างเดียว โดยผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน และอาจารย์ทำหน้าที่เป็นเพียงผู้ช่วย (โค้ช)

10.3.3.3.2. ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและสามารถสร้างองค์ความรู้ของตนเองได้

10.4. สื่อการเรียนรู้ต่างจากสื่อการสอนอย่างไร

10.4.1. สื่อการเรียนการสอนจะเป็นเพียงตัวช่วยประกอบการเรียนการสอน แต่สื่อการเรียนรู้จะเป็นตัวที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียรู้ และกระตุ้นให้เกิดการสร้างความรู้ด้วยตนเอง

10.5. สิ่งที่ต้องมี/ขาดไม่ได้ในสื่อการเรียนรู้คืออะไรบ้าง

10.5.1. วัตถุประสงค์ของผู้สื่อสาร

10.5.2. ความเข้าใจในข้อมูลเกี่ยวกับสารที่ต้องการจะสื่อ

11. การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม

11.1. ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ

11.2. ทฤษฎีเมตะคอกนิชั่น

12. การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

12.1. การสร้าง (construct) การทำความเข้าใจ (conceptualization) และ การแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตัวของเขาเอง

13. นักจิตวิทยากลุ่มพุทธิปัญญานักจิตวิทยากลุ่มพุทธิปัญญา

13.1. Piaget พัฒนาการทางสติปัญญาตามวัย

13.2. Ausubel นำเสนอมโนทัศน์ก่อนสอน

13.3. Bruner Bruner เลือกรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจ

14. นวัตกรรมคืออะไร

15. การออกแบบการเรียนการสอนตามแนวทฤษฏีพุทธิปัญญานิยม

16. กานเรียนรู้ตามทฤษฏีของสกีมา

17. สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้

18. การเรียนรู้ตามแนวทฤษฏีเมลทอลโมเดล

19. ทฤษฎีคอกนิทีฟโหลด

19.1. John Sweller (1994)

19.2. ข้อจำกัดของมนุษย์ในการบันทึกข้อมูล ความจำระยะสั้นมีเพียง 7 +- 2 ในเวลา 15-30 วินาที

20. การเรียนการสอนตามแนวทฤษฏีพฤติกรรมนิยมกับ

21. ความแตกต่างของการออแบบการเรียนการสอนตามแนวทฤษฏีพุทธิปัญญานิยมและพฏิกรรมนิยม

22. ปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้

22.1. ญาณวิทยา