ปฎิบัติการเคมีทั่วไป 2 เรื่อง ปฎิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน และเซลล์ไฟฟ้าเคมี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฎิบัติการเคมีทั่วไป 2 เรื่อง ปฎิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน และเซลล์ไฟฟ้าเคมี by Mind Map: ปฎิบัติการเคมีทั่วไป 2 เรื่อง ปฎิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน และเซลล์ไฟฟ้าเคมี

1. มีการให้และอิเล็กตรอนระหว่างโลหะกับไอออนไอออนในสารละลาย แต่เรามองไม่เห็นการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน เพราะว่าอิเล็กตรอนที่โลหะให้ออกมานั้นมีไอออนบวกเข้าไปรับทันที

2. การจัดสภาวะของเซลล์ไม่ให้ไอออนบวกและโลหะอยู่ในภาชนะเดียวกัน

2.1. 1.ให้โลหะ Zn จุ่มลงในสารละลายเกลือของ Zn ในภาชนะใบที่หนึ่ง

2.2. 2.เอาโลหะ Pb จุ่มวงในสารละลายเกลือของ Pb ในภาชนะในที่สอง

2.3. 3.ต่อขั้วโลหะ (เรียกว่า ขั้วไฟฟ้า <electrode>)

2.4. 4.ทำสะพานไอออน(salt bridge)ด้วยหลอกแก้วรูปตัวยู ภายในหลอดแก้วบรรจุด้วยสารละลายอิ่มตัวของเกลือโพแทสเซียมไนเตรต ในวุ้น (agar)คร่อมระหว่างภาชนะทั้งสอง

2.4.1. สะพานไอออน ทำหน้าที่ เป็นทางผ่านของไอออนและรักษาสมดุลของไอออนในสารละลาย

2.5. 5.เมื่อต่อวงจรครบจะทำให้ปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชันเกิดขึ้นได้เอง (spontaneous)

2.5.1. เรียกเซลล์ไฟฟ้าเคมีชนิดนี้ว่า เซลล์กัลวานิก (galvanic cell)

3. แรงเคลื่อนไฟฟ้า คำนวณได้จากสมการของเนินสต์

3.1. แรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าถูกต้องและคงที่

3.1.1. ความเข้มข้นคงที่ตลอดการทดลอง

3.1.2. อุณหภูมิของสารละลายคงที่ตลอดการทดลอง

4. วิธีการทดลอง

4.1. ตอนที่ 1 การทดลองขั้นเตรียมการ

4.2. ตอนที่ 2 เซลล์ไฟฟ้าเคมี (electrochemical cell)

4.3. ตอนที่ 3 การศึกษาผลของความเข้มข้นที่มีต่อแรงเคลื่อนไฟฟ้า

4.4. ตอนที่ 4 เซลล์ความเข้มข้น (concentration cell)

5. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน หรือปฏิกิริยารีดอกซ์ หมายถึง ปฏิกิริยาเคมีที่มีการให้และรับอิเล็กตรอน

5.1. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน(oxidation)

5.1.1. สารตัวให้อิเล็กตรอน(ตัวรีดิวซ์)

5.1.2. ขั้วอาโนด

5.2. ปฏิกิริยารีดักชัน(reduction)

5.2.1. สารตัวรับอิเล็กตรอน(ตัวออกซิไดส์)

5.2.2. ขั้วคาโทด

5.3. ปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox) = oxidation+reduction

6. จุดประสงค์

6.1. 1.เพื่อศึกษาถึงธรรมชาติของปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน หรือปฏิกิริยาครึ่งเซลล์ของขั้วไฟฟ้าโลหะ และสารละลายเกลือของโลหะบางชนิด

6.2. 2.เพื่อสร้างประสบการณ์การหาแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Electromotive force) ของเซลล์ไฟฟ้าเคมีเทียบกับค่าจากการคำนาณ

6.3. 3.ใช้สมการของเนินสต์ (Nernst) ศึกษาเรื่งเซลล์ความเข้มข้นและผลของความเข้มข้นที่มีต่อแรงเคลื่อนไฟฟ้า

7. สารเคมี

7.1. 1.เลดไนเตรต เข้มข้น 1M

7.2. 2.ซิงค์ซัลเฟต เข้มข้น 1M

7.3. 3.0.1M ซิงค์ซัลเฟต และ 0.01M ซิงค์ซัลเฟต

7.4. 4.คอปเปอร์ซัลเฟต เข้มข้น 1M

7.5. 5.โพแทสเซียมไนเทรต เข้มข้น 1M

8. อุปกรณ์

8.1. 1.หลอดทดลอง

8.2. 2.กระดาษกรอง (ใช้ทำสะพานไอออน)

8.3. 3.โวลต์มิเตอร์กระแสตรง

8.4. 4.แผ่นโลหะตะกั่ว (Pb) สังกะสี (Zn) และทองแดง (Cu)

8.5. 5.ขวดแก้วขนาดเล็ก 3 ขวด

8.6. 6.กระดาษทราย