ปฏิบัติการเรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฏิบัติการเรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยา by Mind Map: ปฏิบัติการเรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยา

1. หลักการ

1.1. ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา

1.1.1. 1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น

1.1.2. 2.ความเข้มข้นของสารตั้งต้น

1.1.3. 3. อุณหภูมิ

1.1.4. 4.ตัวเร่ง (catalyst)

1.2. ปฏิกิริยาเคมีทั่วไปคือ aA+bB --> cC+dD

1.2.1. Rate = -1/a (d[A]/dt)

1.2.1.1. กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล หรือ กฎอัตรา --->>

1.2.2. = -1/b (d[B]/dt)

1.2.3. = 1/c (d[C]/dt)

1.2.4. = 1/d (d[D]/dt)

2. วิธีทดลอง

2.1. ตอนที่1 ผลของความเข้มข้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา และการหากฎอัตรา

2.2. ตอนที่ 2 ผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา และหาค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา

2.3. ตอนที่ 3 ผลของตัวเร่ง

3. 1. 0.200M KI

4. วัตถุประสงค์

4.1. 1. เพื่อศึกษาหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา

4.2. 2. เพื่อหากฎอัตรของปฏิกิริยาระหว่างไอออนเปอร์ออกซีไดซัลเฟต และไออนไอโอไดด์

4.3. 3.เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา และหาค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา

4.4. 4. เพื่อศึกษาผลของสารตัวเร่ง

5. การทดลอง

5.1. สารเคมี

5.1.1. 2.แอมโมเนียมเปอร์ซัลเฟต 0.100M

5.1.2. 3. 0.200M KCl

5.1.3. 4. แอมโมเนียมซัลเฟต 0.100M

5.1.4. 5. โซเดียมไทโอซัลเฟต 0.005M

5.1.5. 6. 1% น้ำแป้ง

5.1.6. 7. คอปเปอร์(II)ซัลเฟต 0.1M

5.2. อุปกรณ์

5.2.1. 1. ปิเปต ขนาด 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร

5.2.2. 2. ขวดรูปชมพู่ ขนาด250และ50ลูกบาศก์เซนติเมตร อย่างละ 5 ใบ

5.2.3. 3. เทอร์โมมิเตอร์

5.2.4. 4. นาฬิกาจับเวลา