บทที่ 11 เทคนิคการเสริมาร้างมนุษยสัมพันธ์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 11 เทคนิคการเสริมาร้างมนุษยสัมพันธ์ by Mind Map: บทที่ 11 เทคนิคการเสริมาร้างมนุษยสัมพันธ์

1. การฟัง

1.1. 2.1 ความสำคัญของการฟัง

1.1.1. การฟังเป็นทักษะที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน

1.1.2. การฟังทำให้เกิดความเพลิดเพลินและความซาบซึ้ง

1.1.3. การฟังทำให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจและแนวคิดจากผู้อื่น

1.1.4. การฟังช่วยสร้างสรรค์สิ่งไหม่

1.1.5. การฟังเป็นส่วนสำคัญของการพูด

1.2. 2.2 วัตถุประสงค์ในการฟัง

1.2.1. 1.ฟังเพื่อความสนุกเพลิดเพลืน

1.2.1.1. การฟังดนตรี หรือการแสดงเพื่อความบันเทิงต่างๆ

1.2.2. 2.เพื่อให้ได้ความรู้

1.2.3. 3.ฟังเพื่อคิด เพื่อประเมินและวิจารณ์

1.3. 2.3 ธรรมชาติของผู้ฟัง

1.3.1. 1.ความนับถือตนเอง

1.3.2. 2.ความฉลาด

1.3.2.1. ผู้ฟังอย่างฉลาด ต้องฟังเรื่องราวและเหตุผล

1.3.3. 3.อารมณ์

1.3.4. 4.ประสบการณ์เดิมของผู้ฟัง

1.3.4.1. ผู้ฟังบางคนมีประสบการเดิมมาก่อนทำให้ขัดแย้งกับประสบการณ์ที่แตกต่าง

1.3.5. 5.การคุกคามอิสรภาพส่วนตัว

1.4. 2.4 การฟังที่มีประสิทธิภาพ

1.4.1. 1.ฟังอย่างตั้งใจ

1.4.2. 2.ฟังอย่างมีเป้าหมาย

1.4.3. 3.รู้จักแปลความหมายของคำ

1.4.4. 4.ควบคุมอารมณ์และระวังมีความอคติ

1.4.5. 5.แสดงให้ผู้พูดเห็นว่ากำลังสนใจฟัง

1.4.6. 6.มีการจดบันทึกสิ่งที่ได้ฟัง

1.4.7. 7.มีความอดทนในการฟัง

1.4.8. 8.ฝึกคิดขณะฟัง

1.5. 2.5 การฝึกทักษะการฟัง

1.5.1. ขั้นที่ 1 ฝึกฟังเพื่อจับใจความสำคัญ

1.5.2. ขั้นตอนที่ 2 ฝึกฟังโดยใช้วิจารณญาณ

1.5.3. ขั้นตอนที่ 3 ฝึกฟังเพื่อนำคุณค่าของสิ่งที่ได้รับไปประโยชน์

2. การสนทนา

2.1. หมายถึง การสื่อสารระหว่างบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป

2.1.1. 3.1 ประโยชน์ของการสนทนา

2.1.1.1. 1.เสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้น

2.1.1.2. 2.แลกเปลี่ยนเจตคติ ความรู้ ความคิดของมวลมนุษย์

2.1.1.3. 3.ฝึกสติปัญญาให้เฉียบแหลม

2.1.1.4. 4.ทำให้การสังสรรค์เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน

2.1.1.5. 5.ช่วยผ่อนคลายความเคลียด

2.1.1.6. 6.ฃ่วยให้งานอาชีพที่ต้องใช้การสนทนาได้รับความสำเร็จมากขึ้น

2.1.1.7. 7.ช่วยมองเห็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

2.1.2. 3.2 ขั้นตอนการสนทนา

2.1.2.1. 1.ขั้นสร้างความเป็นกันเอง

2.1.2.1.1. ทักทายปราศรัย ไต่ถามทุกข์สุขกัน

2.1.2.2. 2.ขั้นดำเนินการสนทนา

2.1.2.2.1. เทคนิคการฟัง

2.1.2.2.2. เทคนิคการถาม

2.1.2.2.3. เทคนิคการทวนคำ

2.1.2.2.4. เทคนิคการแย้งเพื่อให้ออกรสชาติ

2.1.2.3. 3.ขั้นสรุปการสนทนาหรือยุติการสนทนา

2.1.2.3.1. เช่นกล่าวว่า สรุปแล้วสิ่งที่พวกเราจะทำกันคือ...

2.1.3. 3.3 หบักการสนทนาที่ดี

2.1.3.1. 1.มีความสนใจคู่สนทนาของตน

2.1.3.2. 2.เป็นผู้ฟังที่ดี

2.1.3.3. 3.เคารพความคิดเห็นซึ่งกันและกัน

2.1.3.4. 4.ใจกว้าง มีเมตตา ไม่มองคู่สนทนาในแง่ร้าย

2.1.3.5. 5.ให้ความเป็นกันเองกับคู่สนทนา

2.1.3.6. 6.คู่สนทนาควรมีความรู้

2.1.3.7. 7.สังเกตสีหน้าท่าทางของคู่สนทนา

2.1.3.8. 8.การเปลี่ยนเรื่องในการสนทนา

2.1.3.9. 9.ไม่พูดแต่เรื่องส่วนตัว

2.1.3.10. 10.ในการสนทนากันอยู่ ถ้ามีคนอื่นมาร่วมควรบอกให้รู้ถึงเรื่องที่เรากำลังสนทนากันอยู่

2.1.3.11. 11.คิดก่อนพูดทุกครั้ง

2.1.4. 3.4 การใช้ภาษาในการสนทนา

2.1.4.1. ใช้ภาษาง่ายๆ

2.1.4.2. ใช้ภาษาสั้นๆ

2.1.4.3. ใช้ภาาาสุภาพ

2.1.4.4. ไม่ใช้คำซ้ำบ่อยๆ

2.1.4.5. ไม่ใช้คำกำกวม

2.1.4.6. ไม่ใช้ภาษาต่างประเทศ

3. มารยาทสัมพันธ์

3.1. 4.1 มารยาทในการแสดงความเคารพ

3.1.1. บุคคลี่ควรเคารพ

3.1.1.1. 1.ผู้ที่มีวัยวุฒิ

3.1.1.2. 2.ผู้ที่มีคุณวุฒิ

3.1.1.3. 3.ผู้ที่มีชาติวุฒิ

3.1.2. รูปแบบการเคารพ

3.1.2.1. 1.การประนมมือ(อัญชลี)

3.1.2.2. 2.การไหว้(วันทา)

3.1.2.3. 3.การกราบ (อภิวาท)

3.1.3. การคำนับ

3.1.4. การถวายบังคม

3.2. 4.2 มารยาทในการแนะนำ

3.2.1. เวลา

3.2.1.1. ผู้แนะนำควรพิจารณาว่าเวลานั้นเหมาะจะแนะนำหรือไม่

3.2.2. สถานที่

3.2.2.1. ต้องมีความเหมาะสม สามารถสนทนาต่อได้สะดวก

3.2.3. บุคคล

3.2.3.1. ก่อนแนะนำควรคำนึงถึง บุคคลที่จะได้รับการแนะนำมีความรู้สึกพอใจที่ได้รู้จักกันหรือไม่

4. การพูด

4.1. การพูดนับได้ว่าเป็นบันใดชั้นแรกของมนุษย์ในการคบหาสมาคม และเป็นสะพานเชื่อมไปสู่ความสำเร็จในชีวิต

4.1.1. 1.1 ความสำคุญของการพูด

4.1.1.1. สร้างมนุษยสัมพันธืได้ง่ายสุด

4.1.1.2. การพูดเป็นการสื่อสารสองทาง ผู้พูดและผู้ฟังสามารถโต้ตอบกันได้

4.1.1.3. การพูดเป็นเครื่องมือประสานประโยชน์ให้แก่สังคม

4.1.1.4. การพูดเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน

4.1.2. 1.2 องค์ประกอบองการพูด

4.1.2.1. ผู้พูด

4.1.2.2. ผู้ฟัง

4.1.2.3. เนื้อหาที่พูด

4.1.2.4. ปฤิกิริยาองผู้ฟัง

4.1.3. 1.3 จุดมุ่งหมายองการพูด

4.1.3.1. แจ้งให้ทราบ

4.1.3.2. โน้มน้าวใจ

4.1.3.3. เพื่อจรรโลงใจ

4.1.3.4. เพื่อค้นหาคำตอบ

4.1.4. 1.4 หลักการพูดดี

4.1.4.1. 1. การวิเคาะห์ผู้ฟังและกาลเทศะ

4.1.4.1.1. ผู้ฟัง

4.1.4.1.2. สถานที่

4.1.4.1.3. เวลา

4.1.4.1.4. โอกาส

4.1.4.2. 2.การเลือกเรื่องที่จะพูด

4.1.4.2.1. เลือกเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ

4.1.4.2.2. เลือกเรื่องที่ผู้ฟังสามารถเข้าใจได้ง่าย

4.1.4.2.3. เลือกเรื่องที่มีประโยชน์แก่ผู้ฟัง

4.1.4.2.4. เลือกเรื่องที่ผู้พูดมีความถนัด

4.1.4.3. 3.การปรับปรุงตัวผู้พูด

4.1.4.3.1. 1.ปลูกฝังให้มีจิตใจเป็นนักพูด

4.1.4.3.2. 2.ปรับปรุงบุคลิกภาพ

4.1.4.3.3. 3.ฝึกด้านศิลปการพูด

4.1.5. 1.5 ศิลปการพูดเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์

4.1.5.1. 1.คิดก่อนพูด

4.1.5.2. 2.มีคุณธรรม

4.1.5.3. 3.มีทักษะในการพูด

4.1.5.4. 4.เลือกใช้คำพูดที่เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวัน

4.1.5.5. 5.ไม่พูดส่อเสียดกล่าวว่าร้ายผู้อื่น

4.1.5.6. 6.ควบคุมตนเองเมื่อเกิดอารมโกรธ

4.1.5.7. 7.มีอารมณ์ขัน

4.1.5.8. 8.พูดให้เกิดความประทับใจให้กับผู้ฟัง

4.1.6. 1.6การพูดในโอกาสต่างๆ

4.1.6.1. 1.การพูดในฐานะโฆษก

4.1.6.1.1. ทำหน้าที่เป็นคนกลางในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้รับเชิญให้พูดกับผู้ฟัง

4.1.6.2. 2.การกล่าวแนะนำผู้พูด

4.1.6.2.1. โดยปกติจะทำในโอกาสที่มีการพูดที่เป็นพิธี เช่น กล่าวแนะนำผู้อภิปราย

4.1.6.3. 3.การกล่าวขอบคุณผู้พูด

4.1.6.3.1. โดยจะกล่าวถึงเรื่องความสำคัญของเรื่องที่ผู้พูดพูด

4.1.6.4. 4.การกล่าวต้อนรับ

4.1.6.4.1. เป็นการพูดให้ผู้มาเยี่ยมเกิดความอบอุ่น ประทับใจ และรู้จักหน่วยงานดีขึ้น

4.1.6.5. 5.การกล่าวตอบการต้อนรับ

4.1.6.5.1. เมื่อเยี่ยมเยียนเสร็จ ผู้มาเยี่ยมต้องกล่าวแสดงความขอบคุณ

4.1.6.6. 6.การกล่าวมอบของขวัญหรือรางวัล

4.1.6.6.1. แสดงความยกย่องให้กับผู้ที่ได้รับของขวัญหรือรางวัล

4.1.6.7. 7.การกล่าวตอบรับมอบของขวัญหรือรางวัล

4.1.6.7.1. ผู้ที่ได้รับควรกล่าวขอบคุณออย่างจริงใจ

4.1.6.8. 8.การอวยพร

4.1.6.9. 9.การกล่าวตอบคำอวยพร