การงานอาชีพและเทคโนโลยี5

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การงานอาชีพและเทคโนโลยี5 by Mind Map: การงานอาชีพและเทคโนโลยี5

1. งานช่างในบ้าน

1.1. 1) ลักษณะของงานช่าง สามารถแบ่งเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. งานบ ารุงรักษา 2. งานซ่อมแซม/การดัดแปลง 3. งานตดิตง้ั/การประกอบ 4. งานผลิต

1.2. 2) หลักการทำงานช่าง 1. มีความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จำเป็นในบ้าน 2. มีความรู้เกี่ยวกับหลักการท างานของเครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ในบ้าน 3. มีความรู้เกี่ยวกับหลักการของวัสดุ 4. มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม 5. มีความรู้เกี่ยวกับการออกแบบ อ่านแบบ วิเคราะห์ วางแผน บำรุงรักษา ติดตั้ง 6. มีทักษะการคำนวณค่าใช้จ่ายต่างๆ 7. มีความขยัน อดทน ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ ประหยัด

1.3. 3) กระบวนการท างานช่าง 1. ศึกษาคู่มือการทำงานของเครื่องมือ เครื่องใช้ และอ่านแบบ 3. อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 4. คำนวณค่าใช้จ่าย เป็นขั้นตอนที่ส าคัญ เพราะจะทำให้รู้ค่าใช้จ่ายในการท างาน 5. วางแผนปฏิบัติงาน คือการกำหนดขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนงานสำเร็จ 6. เลือกใช้เทคโนโลยี เพื่อความสะดวก รวดเร็ว 7. เลือกเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ 8. ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ 9. ตรวจสอบความเรียบร้อย 10. แก้ไขและปรับปรุง 11. จัดเก็บและบำรุงรักษาเครื่องมือ

1.4. 4) ทักษะกระบวนการทำงานช่าง 1. การวิเคราะห์งาน 2. การวางแผนในการทำงาน 3. การปฏิบัติงาน 4. การประเมินผลงาน

1.5. 5) กระบวนการจัดการงานช่าง กระบวนการจัดการงานช่างมีขั้นตอนดังนี้ 1. การวางแผนการด าเนินงาน 2. การแบ่งงาน 3. การบริหารงานบุคคล 4. การบริหารงานเงินและวัสดุ

2. การซ่อมแซมและการดูแลเสื้อผ้า

2.1. วิธีการซ่อมแซมเสื้อผ้า

2.1.1. 1) วัสดุอุปกรณ์ มีดังนี้ - กรรไกร - เข็มเย็บผ้า - ด้าย - ตะขอแบบแผ่นโลหะ - เข็มหมุด

2.1.2. 2) การซ่อมแซมตะขอ มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลาะด้ายออกจากตะขอที่หลุดให้หมด 2. น าตะขอตัวผู้วางหงายขึ้นตรงต าแหน่งเดิม แล้วใช้เข็มหมุดตรึงไว้ เพื่อไม่ให้ตะขอเลื่อน 3. ใช้เข็มร้อยด้าย แล้วขมวดปมด้ายตรงส่วนปลาย 4. แทงเข็มโดยสะกิดผ้าด้านหน้าเท่าปลายเข็มผ่านเข้ามาในรูตะขอ และ แทงเข็มลงให้ทะลุรูข้าง ตะขอ ท าซ้ า 7-8 รอบ แล้วขมวดปมด้ายให้แน่น 5. เย็บตะขอตัวเมียเหมือนวิธีการเก็บตะขอตัวผู้ซึ่งใช้หลักการเย็บเหมือนกัน และการวาง ตะขอตัวผู้และตะขอตัวเมียจะต้องวางให้ตรงกัน

2.2. การดูแลรักษาเสื้อผ้า

2.2.1. 1. การซักเสื้อผ้า อุปกรณ์ที่ใช้ในการซักผ้ามีดังนี้ ไม้หนีบผ้า ผงซักฟอก กะละมัง กระป๋อง ตะกร้าใส่ผ้า แปรงซัก ผ้า เก้าอี้

2.2.2. 2. การจัดเก็บเสื้อผ้า 1. เสื้อผ้าไม่จ าเป็นต้องรีด เช่น เสื้อยืด ชุดชั้นใน ถุงเท้า ให้น ามาพับแล้วแยกเก็บเป็นประเภทต่างๆ ให้เรียบร้อย 2. เสื้อผ้าที่ต้องรีด เมื่อรีดเสร็จแล้ว ให้แยกเก็บให้เรียบร้อย ดังต่อไปนี้ 1) เก็บด้วยไม้แขวนเสื้อ เช่น ชุดนักเรียน ชุดทำงาน ให้ใช้ไม้แขวนเสื้อแขวนโดยจัดทรงให้ เรียบร้อยโดยไม่จ าเป็นต้องแขวน

2.2.3. 3. การซ่อมแซมเสื้อผ้า เสื้อผ้าที่เราสวมใส่เป็นประจ า เมื่อใช้ไปนาน ๆ อาจท าให้เกิดการช ารุดเสียหาย

3. กระบวนการ PDCA

3.1. 1. การวางแผน (Plan: P) เป็นส่วนประกอบของวงจรที่มีความสำคัญ

3.2. 2. การปฏิบัติตามแผน (Do: D) เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่กำหนดไว้ในตาราง การปฏิบัติงาน

3.3. 3. การตรวจสอบ Check : C หมายถึงการตรวจสอบดูว่าเม่ือปฏบิตังิานตามแผนหรือการแกป้ญัหางานตามแผนแล้ว

3.4. 4. การดำเนินการให้เหมาะสม (Action : A) เป็นการกระท าภายหลังที่กระบวนการ 3 ขั้นตอน ตามวงจรได้ดำเนินการเสร็จแล้ว ขั้นตอนที่เป็นการนำเสนอ เอาผลจากขั้นตอนการตรวจสอบ(C) มาดำเนินการให้เหมาะสมต่อไป