ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร by Mind Map: ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร

1. เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.1. องค์กรเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย

1.1.1. เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน ( Personal Area Network: PAN )

1.1.2. เครือข่ายเฉพาะที่ หรือแลน ( Local Area Network: LAN )

1.1.3. เครือข่ายนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network: MAN)

1.1.4. เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน (Wide Area Network: WAN)

1.2. เครือข่ายแบบวงแหวน (ring topology)

1.3. ลักษณะของเครือข่าย

1.3.1. เครือข่ายแบบรับ-ให้บริการหรือไคลเอนท์/เซิร์ฟเวอร์ (client-server network)

1.3.2. เครือข่ายระดับเดียวกัน (Peer- to-Peer network: P2P network )

1.4. รูปร่างเครือข่าย

1.4.1. เครือข่ายแบบบัส ( bus topology )

1.4.2. เครือข่ายแบบดาว (star topology)

1.4.3. เครือข่ายแบบแมช (mesh topology)

2. โพรโทคอล

2.1. ทีซีพี/ไอพี (Transmission Control Protocol/Internet Protocol: TCP/UP)

2.2. ไวไฟ (Wireless Fidelity: Wi-Fi)

2.3. ไออาร์ดี (Infrared Data Association: IrDA)

2.4. บลูทูท (bluetooth)

3. อุปกรณ์สื่อสาร

3.1. โมเด็ม (modem)

3.1.1. โมเด็มแบบหมุนโทรศัพท์ (dial-up modem)

3.1.2. ดิจิทัลโมเด็ม (digital modem)

3.1.3. ดิเอสแอล (Digital Subscriber Line: DSL)

3.1.4. เคเบิลโมเด็ม (cable modem)

3.2. การ์ดแลน (LAN card)

3.2.1. อุปกรณ์จัดเส้นทาง (router)

3.3. ฮับ (hub)

3.4. สวิตช์ (switch)

3.5. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย (wireless access point)

4. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา ( full duplex transmission )

5. บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

5.1. การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดประโยชน์

5.1.1. ผู้รับ (receiver)

5.1.2. ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล

5.1.3. ความถูกต้องของข้อมูล

5.1.4. ความเร็วในการรับส่งข้อมูล

5.1.5. การประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล

5.1.6. ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร

5.1.7. ความสะดวกในการประสารงาน

5.1.8. ขยายบริการองค์กร

5.1.9. การสร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครือข่าย

6. การสื่อสารข้อมูล

6.1. องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล

6.1.1. ข้อมูล/ข่าวสาร (data/message)

6.1.2. ผู้ส่ง (sender)

6.1.3. สื่อกลางในการส่งข้อมูล (transmission media)

6.2. สัญญาณที่ใช้ในการสื่อสาร

6.2.1. สัญญาณแอนะล็อก (analog signal)

6.2.2. สัญญาณดิจิทัล (digital signal)

6.3. โพรโทคอล (protocol)

6.4. การถ่ายโอนข้อมูล

6.4.1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน

6.4.1.1. การสื่อสารทางเดียว ( simplex transmission )

6.4.2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม

6.5. รูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล

6.5.1. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา ( half duplex transmission )

7. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล

7.1. สื่อกลางแบบใช้สาย

7.1.1. สายคู่บิดเกลียว (twisted pair cable)

7.1.1.1. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน หรือสายยูทีพี (Unshielded Twisted Pair :UTP)

7.1.1.2. สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวน หรือสายเอสทีพี (Shielded Twisted Pair: STP)

7.1.2. สายโคแอกซ์ (coaxial cable)

7.1.3. สายไฟเบอร์ออพติก (fiber-optic cable)

7.2. สื่อกลางแบบไร้สาย

7.2.1. อินฟราเรด

7.2.2. ไมโครเวฟ

7.2.3. คลื่นวิทยุ

7.2.4. ดาวทียมสื่อสาร