การติดตามตรวจสอบอุทกภัยโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การติดตามตรวจสอบอุทกภัยโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม by Mind Map: การติดตามตรวจสอบอุทกภัยโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม

1. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.1. สามารถจำแนกพื้นที่เกิดอุทกภัยโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และเทคนิคการสำรวจระยะไกลด้วยภาพถ่ายดาวเทียม

1.2. ได้วิธีการที่เหมาะสมสำหรับการจำแนกพื้นที่เกิดอุทกภัยโดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม

1.3. ได้ข้อมูลที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการจำแนกพื้นที่เกิดอุทกภัย

2. ขอบเขตการวิจัย

2.1. การวิเคราะห์และพัฒนาวิธีการตรวจสอบพื้นที่การเกิดอุทกภัยโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel และ Landsat

2.2. การวิเคราะห์และพัฒนาวิธีการตรวจสอบพื้นที่บริเวณแม่น้ำหรือแหล่งน้ำโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat

3. ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง

3.1. ทฤษฎีทางด้านการเตือนภัยและช่วยเหลือบรรเทาอุทกภัย

3.2. ทฤษฎีทางด้านการรับรู้ระยะไกลที่ใช้ในการติดตามช่วยเหลือและบรรเทาสาธารณภัย

3.3. ทฤษฎีทางด้านเทคนิคที่นำมาใช้ประมวลผลข้อมูลการรับรู้ระยะไกล

3.4. เทคนิคการจำแนกประเภทข้อมูลภาพ

4. วิธีการวิจัย

4.1. 1. ศึกษาทฤษฎี เทคโนโลยี และรวบรวมสรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

4.2. 2. รวบรวมข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel และภาพถ่ายดาวเทียม Landsat จากเว็บไซต์ USGS โดยเลือกข้อมูลทดสอบของช่วงเวลาที่มีการเกิดอุทกภัยในพื้นที่ที่มีการเกิดอุทกภัยจริงในอดีตที่ผ่านมา

4.3. 3. วิเคราะห์ และพัฒนาขั้นตอนวิธีการตรวจสอบพื้นที่การเกิดอุทกภัยโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel และ Landsat พร้อมทั้งตรวจสอบพื้นที่บริเวณแม่น้ำหรือแหล่งน้ำโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat

5. วัตถุประสงค์

5.1. เพื่อศึกษาวิธีการจำแนกพื้นที่เกิดอุทกภัยโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และเทคนิคการสำรวจระยะไกลด้วยภาพถ่ายดาวเทียม

5.2. เพื่อเปรียบเทียบวิธีการจำแนกพื้นที่เกิดอุทกภัยโดยใช้วิธีการจำแนกแบบ Pixel Classification และ Object based Classification

5.3. เพื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์การจำแนกพื้นที่เกิดอุทกภัยที่ได้จากการประมวลภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat และ Sentinel ด้วยวิธีการที่เหมาะสม

6. หลักการและเหตุผล

6.1. ปัจจุบันมีการเกิดอุทกภัยขึ้นมากมายในหลายพื้นที่และเกิดขึ้นรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ทางรัฐบาลจึงมีนโยบายเพื่อช่วยเหลือเหลือผู้ประสบอุทกภัย จึงมีการสำรวโดยใช้ข้าราชกาล กำนัน ผู้ใหญ่บ้านไปสำรวจ แต่ได้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นแค่ภาพรวมไม่ได้มาจากพื้นที่จริง เราจึงนำเทคโนโลยีทางด้านภาพถ่ายดาวเทียมมาเพื่อสำรวจให้ได้พื่นที่น้ำท่วมที่แท้จริง

7. เครื่องมือที่ใช้

7.1. Google Earth Engine

7.2. Arc Toolbox