วินัย 5 ประการสำหรับองค์การแห่งการเรียนรู้

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
วินัย 5 ประการสำหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ by Mind Map: วินัย 5 ประการสำหรับองค์การแห่งการเรียนรู้

1. เจ้าของทฤษฏี

1.1. Peter Senge

1.1.1. หัวใจของการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้อยู่ที่การเสริมสร้างวินัย 5 ประการ ให้เกิดผลจริงจังในรูปของการนำไปปฏิบัติ แก่บุคคล ทีม และองค์การอย่างต่อเนื่องและทุกระดับ

1.1.2. คำนิยามของ ”องค์การแห่งการเรียนรู้” ว่า “เป็นองค์การที่ผู้คนต่างขยายขีดความสามารถเพื่อสร้างผลงานที่ต้องการสร้างอนาคต”

2. ความหมาย

2.1. วินัย (Disciplines)

2.1.1. เทคนิควิธีที่ต้องศึกษาใคร่ครวญอยู่เสมอแล้วนำมาปฏิบัติ เป็นแนวทางการพัฒนาเพื่อการแสวงหาการเสริมสร้างทักษะ หรือสมรรถนะ

3. ประกอบด้วย

3.1. การเรียนรู้ของทีม (Team Learning)

3.1.1. จุดมุ่งหมาย

3.1.1.1. จะทำอย่างไรให้ระดับความสามารถของทีมเหนือกว่าระดับความสามารถของรายบุคคลในทีม

3.1.2. แนววิธีฝึกฝนสร้างการเรียนรู้ของทีมที่ดีและคุ้มค่า

3.1.2.1. การพูดคุย (dialogue)

3.1.2.2. การอภิปราย (discussion)

3.1.3. การเรียนรู้เป็นทีมมี 3 ลักษณะสำคัญ

3.1.3.1. 1. สมาชิกทีมต้องมีความสามารถในการคิด ตีปัญหา หรือประเด็นพิจารณาให้แตก

3.1.3.2. 2. ภายในทีมต้องมีการทำงานที่สอดประสานกันเป็นอย่างดี

3.1.3.3. 3. บทบาทของสมาชิกทีมหนึ่งที่มีต่อทีมอื่นๆ

3.2. แบบแผนความคิดอ่าน (Mental Models)

3.2.1. ได้แก่

3.2.1.1. ข้อตกลงเบื้องต้น

3.2.1.2. ความเชื่อพื้นฐาน

3.2.1.3. ข้อสรุปหรือภาพลักษณ์ที่ตกผลึกในความคิดอ่านของคน

3.2.2. หน้าที่

3.2.2.1. เพื่อฝึกฝนให้เราได้เข้าใจ

3.2.2.2. แยกแยะระหว่างสิ่งที่เราเชื่อกับสิ่งที่เราปฏิบัติ

3.2.2.3. เข้าใจมุมมองและการคิดของผู้อื่น

3.2.3. ต้องทำงานร่วมกับการคิดอย่างเป็นระบบเพื่อเกิดผลดีสูงสุด

4. ประกอบด้วย

4.1. การคิดอย่างเป็นระบบ (Systemmatic Thinking)

4.1.1. เป็นวินัยที่มีความสำคัญมากที่สุด

4.1.2. ความหมายของคำว่า "ระบบ"

4.1.2.1. ส่วนย่อยที่เกี่ยวเนื่องกันในส่วนใหญ่

4.1.2.2. สะท้อนให้เห็นการขึ้นแก่กันของส่วนย่อย ๆ

4.1.3. ลักษณะของการคิดอย่างเป็นระบบที่ดี

4.1.3.1. คิดเป็นกลยุทธ์

4.1.3.1.1. ชัดเจนในเป้าหมาย

4.1.3.1.2. มีแนวทางที่หลากหลาย

4.1.3.1.3. มีวิสัยทัศน์

4.1.3.1.4. แน่วแน่ในเป้าหมาย

4.1.3.2. คิดทันการ

4.1.3.2.1. มองให้เห็นความจริง

4.1.3.2.2. ชิงปฏิบัติก่อนปัญหาจะเกิด

4.1.3.3. เล็งเห็นโอกาส

4.1.3.3.1. ในทุกปัญหามีโอกาส

4.1.3.3.2. ไม่ย่อท้อ

4.1.3.3.3. มองให้ได้ประโยชน์

4.2. วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision)

4.2.1. ความสำคัญ

4.2.1.1. เป็นพลังขับเคลื่อนในภารกิจทุกอย่างขององค์การให้มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน

4.2.1.2. เป็นจุดร่วมและพลังของการเรียนรู้ของสมาชิกในองค์การ

4.2.1.3. โน้มน้าวให้เกิดการปฏิบัติร่วมกันไปในทิศทางที่ทำให้ภาพวิสัยทัศน์นั้นเป็นจริงขึ้นมา

4.2.2. การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม

4.2.2.1. อาศัยความคิดที่ใช้ปกครอง

4.2.2.1.1. อะไร : ภาพในอนาคตที่ต้องการให้เกิดคืออะไร

4.2.2.1.2. ทำไม : ทำไปทำไม ด้วยเป้าหมายหรือพันธกิจใด

4.2.2.1.3. อย่างไร : เราจะปฏิบัติตนเช่นไร

4.3. ความรอบรู้แห่งตน (Personal Mastery)

4.3.1. การฝึกฝนอบรมตนด้วยการเรียนรู้อยู่เสมอเป็นรากฐานสำคัญ

4.3.1.1. เป็นการขยายขีดความสามารถให้เชี่ยวชาญมากขึ้น

4.3.1.2. ความรอบรู้เป็นผลร่วมของทักษะและความสามารถ