1. กลุ่ม Lincosamides
1.1. ยากลุ่มนี้เป็นยาต้านการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ใช้สำหรับการติดเชื้อanaerobic เเละ Vancomycin ใช้รักษาการติดเชื้อ methicillin-resistant staphylococci
1.2. Clindamycin
1.2.1. ข้อบ่งใช้
1.2.1.1. -Clindamycin มีฤทธ์ิต่อStreptococci, staphylococci, pneumococci, Bacteroides sp. และanaerobic อื่นๆท้งัแกรมบวกและลบ แต่ยาไม่มีฤทธ์ิต่อเช้ือenterococci, gram negativeaerobic, Clostridium difficile
1.2.2. การออกฤทธิ์
1.2.2.1. ยาออกฤทธ์ิเช่นเดียวกับ Erythromycin โดยการยบัย้งั aminoacyl translocation reactionและจับกับต าแหน่งบน 50 s subunit ของ bacterial ribosome เช่นเดียวกับ erythromycinพอดี
1.2.3. ผลข้างเคียง
1.2.3.1. ปวดท้อง, คลื่นไส้, อาเจียน และท้องเสีย รสเปลี่ยนเป็ นรสคล้ายโลหะ
1.2.4. การพยาบาล/ข้อห้ามใช้
1.2.4.1. 1.-ห้ามใช้ในผู้ป่ วยที่มีประวัติแพ้ clindamycin หรือ ลินโคมัยซิน 2. -ควรระมดัระวังในการให้ยานี้กับสูงอาย, ุผู้มีประวัติเป็นโรคระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคลำไส้อักเสบ, ไม่ควรฉีดเข้าหลอดเลือดดดำโดยตรง, ควรใช้ด้วย ความระมัดระวังในผู้ป่วยโรคตับและไต
1.3. Lincomycin
1.3.1. ผลิตจากแบคทีเรียกลุ่ม Steptomyces lincolnensis ทางคลินิกนำมาใช้เป็นยาต่อต้านเชื้อแบคทีเรียประเภท Actinomycetes Mycoplasma และเชื้อปรสิตประเภท Plasmodium
1.3.2. ผลข้างเคียง:อาการปวดท้อง ท้องเสียเป็นน้ำหรือถึงขั้นมีเลือดปนมากับอุจจาระ /อุจจาระเป็นเลือด มีไข้
1.3.3. การพยาบาล: -ห้ามใช้ยานี้ร่วมกับยา Erythromycin -ห้ามใช้ยานี้กับผู้ป่วยที่มีภาวะท้องเสียอย่างรุนแรง -ประเมินการทำงานของตับเเละไตในระยะเวลานาน
2. กลุ่ม Sulfonamides
2.1. ข้อบ่งใช้
2.1.1. โรคติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ โดยเฉพาะจากเชื้อ อี.โคไล (E.Coli) ใช้รักษาโรคริดสีดวงตา (Trauchoma) กามโรคพวกแผลริมอ่อน (Chancroid) และฝีมะม่วงที่เกิดจากเชื้อลิมโฟแกรนูโลมา เวเนอเรียม (Lymphogranuloma ve- nerium) และใช้ระงับเชื้อในทางเดินอาหาร โดยเลือกยาซัลฟาที่ไม่ดูดซึม นอกจากนี้ยังใช้ภายนอกในรูปของยาหยอดตา และยาเหน็บช่องคลอด
2.2. การออกฤทธิ์
2.3. การแบ่งชนิดของยาซัลฟา
2.3.1. Sulfonamide antibioticsยาที่ดูดซึมเร็ว และขับถ่ายทางปัสสาวะเร็ว (ออกฤทธิ์สั้น)
2.3.1.1. (Sulfasalazine; Salazopyrin EN®)
2.3.1.2. Sulfamethoxazole (Bactrim®)
2.3.1.3. Sulfadiazine
2.3.2. Sulfonamide non antibiotics
2.3.2.1. Loop diuretics
2.3.2.1.1. –Furosemide (Lasix®)
2.3.2.2. Thaizide diuretics
2.3.2.2.1. Hydrochlorothaizide (HCTZ)
2.3.2.3. Carbonic anhydrase inhibitors
2.3.2.3.1. Acetazolamide (Diamox® )
2.4. ผลข้างเคียง
2.4.1. ปฏิกิริยาตอนเเพ้ -จะเกิดผื่นคันเเละลมพิษ -ยาจะกดไขกระดูกทำให้เม็ดเลือดลดลง คนไข้ที่ขาด G6-PD ควรระวัง -พิษต่อไตเเนะนำให้ดื่มน้ำมากๆ-ระวังในคนที่เเพ้เพราะจะเกิดhematologic adnormalities
2.5. การพยาบาล
2.5.1. ใช้สำหรับโรคติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะได้ดี ยาไม่ค่อยละลายในปัสสาวะ ควรแนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ
3. กลุ่ม Aminoglycosides
3.1. ข้อบ่งขี้ -Inhibit protein synthesis โดยการจับกับ 30s ribosome แบบ irreversible -อาศัย Active transport (Oxygen-dependent) จึงสามารถกำจัดได้เฉพาะเชื้อที่เป็น aerobic -เปลี่ยนชนิดของเอนไซม์ transferase
3.2. กลุ่มที่ 1 แบ่งตามชื่อสกุลของแบคทีเรียจำพวก Streptomyces
3.2.1. Streptomycin,Neomycin, Kanamycin, Hygromycin, Hygromycin-B และ Specti nomycin
3.3. กลุ่มที่ 2 แบ่งตามชื่อสกุลของแบคทีเรียจำพวก Micromonospora
3.3.1. Gentamicin
3.4. กลุ่มที่ 3 เป็นอนุพันธุ์ถัดมาจากกลุ่มที่ 1 และ 2
3.4.1. Amikacin,Tobramycin,Netilmicin
3.5. กลไกการออกฤทธิ์ - Absorption : Absorb ผ่าน GI ได้น้อยมาก ดังนั้นยากิน (Neomycin) จึงใช้รักษา Local infection, ยาฉีดใช้ใน Systemic infection - Distribution : เข้า CSF ได้น้อย แต่สะสมได้ดีภายในไตและ inner ear (ทำให้เกิด Toxicity ในบริเวณนี้ได้ง่าย) จึงมักให้แบบ IV infusion - Excretion : ขับทางไต (Glomerular filtration) ดังนั้นต้องลดขนาดยาในผู้ป่วยโรคไต
3.6. ผลข้างเคียง 1. Ototoxicity : ทำให้การได้ยินและการทรงตัวผิดปกติ 2. Nephrotoxicity : เกิดพิษต่อไต 3. NM blockade : อาจทำให้เกิด respiratory depression, กล้ามเนื้ออ่อนแรง (สามารถแก้ได้ด้วย calcium หรือ neostigmine)
3.7. การพยาบาล
3.7.1. แจ้งให้แพทย์ทราบก่อนใช้ยานี้ หากผู้ป่วยเป็นโรคไต การได้ยินผิดปกติ การทรงตัวผิดปกติ ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตา โรคเกี่ยวกับประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นต้น
3.7.2. ติดตามความไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์ในร่างกาย
4. กลุ่ม Quinolones
4.1. ยากลุ่ม quinolone ที่มีการปรับปรุงโดยใส่ fluorine(F) เพื่อให้มีฤทธิ์กว้างขวางขึ้น ออกฤทธิ์ โดยยับยั้ง การคลายตัวและทำซ้ำ(unwinding and duplicating) ของ bacterial DNA ทำให้เชื้อแบ่งไม่ได้
4.1.1. (ผลข้างเคียง) ดังนี้ -ในระบบทางเดินอาหาร: มีอาการ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย และปวดท้อง -ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง: ทำให้รู้สึก วิงเวียน ง่วงนอน ปวดศีรษะ สับสน นอนไม่หลับ ซึมเศร้า อ่อนเพลีย ชัก และมีอาการสั่น -ผลต่อระบบผิวหนัง: เช่น ผื่นคัน ผื่นแพ้แสงแดด
4.2. 1st generation
4.2.1. Nalidixic acid
4.2.1.1. ชื้อดื้อยาง่าย ดูดซึมได้ไม่ดีเลิกใช้แล้ว!
4.3. 2nd generation
4.3.1. -Ciprofloxacin(Ciprobay®) -Norfloxacin (Lexinor®, Janacin®) -Ofloxacin(Tarivid®) -Pefloxacin(Peflacine®)
4.3.1.1. -Norflox.คุมgmลบได้น้อยชนิดกว่า( สำหรับทางเดินอาหารและปัสสาวะเท่านั้น) -Cipro.ฆ่าเชื้อPsuedomonasได้แรงสุด -Cipro,oflo.ใช้รักษาติดเชื้อทาง systemic และ atypical ได้
4.4. 3rd generation Levofloxacin (Cravit®)
4.4.1. เน้น respiratory มากขึ้น -เป็น broad spectrum atb. -คุม gm+ ดีขึ้น, gm-น้อยลง, และคุม atypical bacteria ได้ -คุม GU,GI,R,Abdomen -เด่นขึ้นทางrespiratory เรียก respiratory fluoroqui. -คุมgm-ได้น้อยกว่า cipro. จึงใช้รักษา P.aeru ไม่ได้
4.5. 4th generation Moxifloxacin(Avelox®Vigamox®) 400 mg 1 t odm
4.5.1. เน้น respiratory มากขึ้นอีก -ดีขึ้นสำหรับ respiratory, abdominal , skin infection, ยาหยอดตา -gm - rod, atypical bacteria, strep. pneumo, anaerobe
4.6. การพยาบาล
4.6.1. -ไม่ใช้ยากลุ่มนี้กับเด็ก วัยรุ่น สตรีตั้งครรภ์ สตรีที่อยู่ในภาวะให้นมบุตร
4.6.2. -หากเกิดอาการข้างเคียงให้รีบกลับมาพบแพทย์
4.6.3. -ระวังการใช้ยากลุ่มนี้กับผู้ป่วยโรคตับ โรคไตเพราะอาจทำให้อาการของผู้ป่วยรุนแรงมากขึ้นการพยาบาล