ทางเดินปัสสาวะในเด็ก

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ทางเดินปัสสาวะในเด็ก by Mind Map: ทางเดินปัสสาวะในเด็ก

1. ย

2. Urinary tract infection)

2.1. สาเหตุ

2.1.1. Escherichia Coli เป็นแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด

2.1.2. Klebsiella และ Proteusซึ่งเป็นเชื้อที่มีอยู่ตามปกติในลำ ไส้ใหญ่

2.1.3. ปัจจัยอื่นที่ให้ภูมิต้านทานเฉพาะที่ของกระเพาะปัสสาวะลดลง และทำ ให้เป็น UTIได้ง่าย ได้แก่ การมีปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะ

2.2. อาการ

2.2.1. เด็กเล็กอายุตํ่ากว่า 2 ปี อาการไม่แน่นอนเช่น อาจมีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต เด็กอายุ 2-14 ปี อาจจะพบอาการไข้ ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

2.3. การรักษา

2.3.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ ป้องกันเนื้อไตถูกทำ ลาย และป้องกันไตวาย ค้นหาและแก้ไขความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ ให้นํ้าปริมาณมาก ให้นํ้าโดยการดื่ม และ/หรือทางหลอดเลือดดำ บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ ป้องกันการกลับเป็นซํ้า

2.4. การพยาบาล

2.4.1. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ สังเกตภาวะแทรกซ้อน เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย อำนวยความสุขสบายของร่างกาย สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา

3. Phimosis in children)

3.1. อาการที่ผิดปกติ

3.1.1. มีอาการปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning)ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสารคัดหลั่งสีเหลืองคล้ายหนองไหลออกมาร่วมด้วย (balanoposthitis) ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก หรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง (true phimosis) มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน(urinary tract infection , UTI) มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (retained smegma) หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ (preputial adhesions) รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้ (paraphimosis)

3.2. การรักษา

3.2.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง

3.2.1.1. การรักษาในขั้นตอนแรกจะใช้ครีม steroid ที่มีความเข้มข้นไม่มากเกินไป ทาบริเวณหนังหุ้มปลายให้หนังหุ้มปลายมีความยืดหยุ่นดีขึ้น พร้อมกับพ่อแม่ช่วยรูดหนังหุ้มปลายลงมาแล้วรูดกลับ ทำทีละน้อย

3.2.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ circumcision

3.2.2.1. เป็นวิธีการักษาหลังจากไม่สามารถรักษาด้วยวิธีการอื่นแล้ว ในวัยรุ่นสามารถทำโดยการใช้ยาชาเฉพาะที่ แต่ในวัยเด็กจะต้องดมยาสลบเพราะเด็กจะต่อต้าน

3.2.2.2. ข้อบ่งชี้ในการขลิบหนังหุ้มปลาย

3.2.2.2.1. 1. หนังหุ้มปลายไม่เปิดที่มีลักษณะของพังผืดบริเวณปลายชัดเจน 2. มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศเป็นๆหายๆ (recurrent balanoposthitis ) 3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นๆหายๆ ที่ไม่สามารถหาสาเหตุอื่นได้

3.2.2.3. ข้อห้ามการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

3.2.2.3.1. 1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

3.2.2.3.2. 2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง , มีการเจ็บป่วยที่ต้องดูแลใกล้ชิด , มีความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด , ผู้ปกครองไม่ยินยอม

3.2.2.4. คือ การผ่าตัดเพื่อเอาหนังหุ้มปลายของอวัยวะสืบพันธ์เพศชายออกไป โดยมีจุดประสงค์เพื่อการรักษาความสะอาดที่ง่ายขึ้น หรือ การผ่าตัดเพื่อผู้ที่มีหนังหุ้มหนาเกินไปจนไม่สามารถเปิดออกเองได้ และเกิดความเจ็บปวดเวลาอวัยวะเพศแข็งตัว

4. Nephrotic syndrome

4.1. สาเหตู

4.1.1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต (Primary nephrotic syndrome)

4.1.1.1. Idiopathic NS เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในเด็ก Congenital nephrosis / Congenital NS Acute post infection glomerulonephritis, chronic glomerulonephritis

4.1.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ (Secondary nephrotic syndrome)

4.1.2.1. โรคติดเชื้อ สารพิษ ภูมิแพ้ โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด การอุดตันของหลอดเลือดของไต (Renal vein thrombosis) หัวใจวาย (Congestive heart failure) เนื้องอกชนิดร้าย (Malignancies) โรคอื่น ๆ เช่น Collagen disease : SLE, Anaphylactoid purpura, Multiple myeloma

4.2. อาการ

4.2.1. นํ้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

4.2.2. บวมรอบหนังตา (Periorbital edema) และหน้าในเวลาตื่นนอนเช้าและจะหายไปในเวลาบ่าย ต่อมาจะเป็นมากขึ้นจนเห็นได้ชัดว่าบวมทั่วตัว

4.2.3. ปัสสาวะจะน้อยลงและสีเข้ม

4.2.4. อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย แน่นท้อง หายใจลำบาก ผิวหนังซีด

4.3. การรักษา

4.3.1. 1.เพื่อลด Permeability ที่ Glomerular basement membrane โดยการให้ยาประเภทสเตียรอยด์ 2. ป้องกันและควบคุมสภาวะโภชนาการ 3. ลดอาการบวมหรือควบคุม 4. เพิ่มโแตสเซียม เพิ่มวิตามิน 5. ป้องกันการติดเชื้อ

4.4. กาาพยาบาล

4.4.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ ป้องกันการแตกของผิวหนัง ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทาํํ งานของหัวใจ และลดอาการ Dyspnea ที่อาจมี เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกาย ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน

5. Acute glomerulonephritis

5.1. สาเหตุ

5.1.1. การอักเสบของไตชนิดนี้ พบได้บ่อยในเด็กอายุระหว่าง 2-12 ปี และพบมากในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง 2:1 สาเหตุ การอักเสบของไตไม่ได้มีสาเหตุจากการติดเชื้อโดยตรง แต่เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆ ของร่างกายที่พบบ่อยคือ Pharyngitis จาก - Streptococcus gr. A. (Post-streptococcal glomerulonephritis) หรือการติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆในเด็กจะพบได้บ่อยคือ Acute post-streptococoal glomerulonephritis

5.2. อาการ

5.2.1. ภายหลังการติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน เด็กจะเริ่มมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวมขาและท้อง ชนิดกดไม่บุ๋ม

5.2.2. ปริมาณนํ้ามากในหลอดเลือด ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม

5.2.3. มีอาการซีด กระสับกระส่ายและอ่อนเพลียมากเด็กโตอาจบอกได้ว่ามีอาการปวดศีรษะ แน่นอึดอัดท้อง

5.3. การรักษา

5.3.1. 1. เพื่อลดความดันโลหิตและอาการบวม - ให้นอนพักและให้ยาลดความดันโลหิต - ให้ยาขับปัสสาวะประเภท Furosemide (Lasix) - ควบคุมอาหารและนํ้า โดยให้อาหารที่มีโซเดียม และโปแตสเซียมตํ่า โปรตีนปริมาณปกติ แต่ลดโปรตีนเมื่อ BUNสูง จำกัดนํ้า - ชั่งนํ้าหนักและวัดความดันโลหิตทุกวัน 2. เพื่อควบคุม และป้องกันการติดเชื้อ 3. ควบคุม หรือป้องกันภาวะแทรกซ้อน อาจให้ยาระงับชักเช่น Phenobarbในรายที่มีอาการชัก อาจให้ยาประเภท Digitalis เมื่อมีอาการ แทรกซ้อนด้านหัวใจ

5.4. การพยาบาล

5.4.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia) ลดความดันโลหิต สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย อำ นวยความสุขสบายของร่างกาย ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองที่บ้าน