การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบทางเดินปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบทางเดินปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบทางเดินปัสสาวะ

1. Phimosis in children

1.1. อาการ

1.1.1. มีไข้ หนาสั่น

1.1.2. ถ่ายปัสสาวะเป็นหยดไม่พุ่ง มีเลือดปน ปวดขณะเบ่งถ่าย

1.1.3. ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายกลับได้

1.1.4. หนังหุ้มปลายโป่ง ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ

1.1.5. หนังหุ้มปลายติดหัวอวัยวะเพศ รูดแล้วเจ็บ

1.1.6. หนังหุ้มปลายบวม แดงอักเสบ อาจมีสารคัดหลั่งสีเหลืองคล้ายหนองไหล

1.2. การรักษา

1.2.1. ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (circumcision )

1.2.1.1. ข้อบ่งชี้

1.2.1.1.1. มีพังผืดบริเวณปลายชัดเจน

1.2.1.1.2. อักเสบบริเวณปลายเป็นๆหายๆ

1.2.1.1.3. ทางเดินปัสสาวะอักเสบ

1.2.1.2. ข้อห้าม

1.2.1.2.1. ทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

1.2.1.2.2. hypospadias อวัยวะเพศงอ

1.2.1.2.3. buried penis

1.2.1.2.4. webbed penis

1.2.1.3. ภาวะแทรกซ้อน

1.2.1.3.1. ท่อปัสสาวะตีบตัน

1.2.1.3.2. เลือดออกบริเวณผ่าตัด

1.2.1.3.3. อักเสบติดเชื้อ

1.2.2. ประคับประคอง

1.2.2.1. ครีม steroid

1.2.2.2. รูดหนังหุ้มปลายลงมาแล้วรูดกลับ ทีละน้อย ขณะอาบน้ำหรือขณะนอนหลับ

2. Urinary tract infection: UTI

2.1. สาเหตุ

2.1.1. ภูมิต้านทานเฉพาะที่ลดลง

2.1.2. แบคทีเรีย

2.1.2.1. Escherichia Coli (พบบ่อย)

2.1.2.2. Klebsiella

2.1.2.3. Proteus

2.2. อาการ

2.2.1. ไข้

2.2.2. ปัสสาวะมีกลิ่น

2.2.3. ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่าย

2.2.4. ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง

2.3. การวินิจฉัย

2.3.1. ซักประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

2.3.2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ: ปัสสาวะพบเม็ดเลือดขาว เชื้อเกิน100,000 โคโลนี/มิลลิลิตร

2.3.3. ตรวจทางรังสีวิทยา :เพื่อตรวจค้นหา VURร่วมกับUS/IVP เพื่อดูโครงสร้างทางเดินปัสสาวะ

2.4. ภาวะเเทรกซ้อน

2.4.1. ไตวาย

2.4.2. Hypertention

2.4.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

2.5. การพยาบาล

2.5.1. เเนะนำถ่ายปัสสาวะซ้ำ (Double voiding)

2.5.2. ลดการติดเชื้อ ให้ยาปฏิชีวนะ

2.5.3. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

2.5.4. ให้นํ้าปริมาณมาก ให้นํ้าโดยการดื่ม และ/หรือทางหลอดเลือดดำ

3. Acute glomerulonephritis

3.1. สาเหตุ

3.1.1. ติดเชื้อในร่างกายทำให้หลอดเลือดฝอยใน Glomerular ถูกทำลายโดยสารสำคัญสองชนิดคือ lysozyme และ Anaphylatoxin

3.1.2. ติดเชื้อ Acute post-streptococoal glomerulonephritis

3.2. อาการ

3.2.1. บวมกดไม่บุ๋ม

3.2.2. ความดันสูง

3.2.3. ปริมาณปัสสาวะน้อย

3.2.4. บวมที่หน้า หนังตา

3.3. การวินิจฉัย

3.3.1. ประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

3.3.2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจปัสสาวะ : พบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว Casts อัลบูมิน ตรวจเลือด : ระดับ Na+, K+ , Cl - , CO2CP ปกติหรือสูงในรายที่รุนแรง ระดับ BUN Creatinine และUric Acidสูง, ASO อาจสูงถึง 200 Todd units

3.4. ภาวะเเทรกซ้อน

3.4.1. Acute cardiac decompensation

3.4.2. Hypertensive encephalopathy

3.4.3. Acute renal failure

3.5. การพยาบาล

3.5.1. 1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ 2. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม 3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia) 4. ลดความดันโลหิต 5. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

4. Nephrotic syndrome

4.1. สาเหตุ

4.1.1. ผิดปกติที่ไต (Primary nephrotic syndrome)

4.1.1.1. Idiopathic NS พบมากที่สุด

4.1.1.2. Congenital nephrosis / Congenital NS

4.1.1.3. Acute post infection glomerulonephritis

4.1.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่นSecondary nephrotic syndrome

4.1.2.1. Soft cheese

4.1.2.2. Deli meats that have not been cooked

4.1.2.3. High mercury fish

4.1.2.4. Raw eggs

4.1.2.5. Alcohol

4.2. อาการ

4.2.1. น้ำหนักเพิ่มขึ้นรวดเร็ว

4.2.2. โปรตีนในเลือดตํ่า โดยเฉพาะอัลบูมิน Hypoproteinemia, Hypoalbuminemia,

4.2.3. บวมทั่วตัวกดบุ๋ม Pitting edema

4.2.4. ไขมันในเลือดสูง Hyperlipemia

4.3. การวินิจฉัย

4.3.1. ประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

4.3.2. Renal biopsy

4.3.3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ: ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะรอบ 24 hr พบปริมานเกิน 2 กรัม/ตารางเมตรพื้นที่ผิวบุร่างกาย , Serum Protein <3 g/dL , Serum Cholesterolสูงประมาณ 450-1500 mg./dl, Hb,Hematocrit มักจะปกติหรืออาจสูงเล็กน้อย SerumSodium ปกติหรือตํ่า

4.4. ภาวะแทรกซ้อน

4.4.1. การติดเชื้อ

4.4.2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง

4.4.3. การอุดตันของหลอดเลือด

4.5. การพยาบาล

4.5.1. 1.ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ 2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง 3. ควบคุมอาการบวม 4. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia

5. นางสาวอินทุอร นารินทร์ ชั้นปีที่ 2 เลขที่ 111