การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ ระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ ระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ ระบบปัสสาวะ

1. Acute glomerulonephritis

1.1. สาเหตุ

1.1.1. การอักเสบของไตเกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆ

1.2. อาการ

1.2.1. บวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา

1.2.2. บวมขาและท้อง ชนิดกดไม่บุ๋ม

1.2.3. ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม

1.2.4. มีอาการซีด

1.2.5. กระสับกระส่ายและอ่อนเพลีย

1.2.6. แน่นอึดอัดท้องและถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก

1.3. การวินิจฉัยโรค

1.3.1. จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

1.3.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.3.2.1. การตรวจปัสสาวะ

1.3.2.2. การตรวจเลือด

1.3.2.3. การตรวจอื่น ๆ

1.4. ภาวะแทรกซ้อน

1.4.1. Hypertensive encephalopathy

1.4.2. Acute cardiac decompensation

1.4.3. Acute renal failure

1.5. การรักษา

1.5.1. ลดความดันโลหิตและอาการบวม

1.5.2. ควบคุม และป้องกันการติดเชื้อ

1.5.3. ควบคุม หรือป้องกันภาวะแทรกซ้อน

1.5.4. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ อาการบวม

1.6. การพยาบาล

1.6.1. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง

1.6.2. ลดความดันโลหิต

1.6.3. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

1.6.4. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโต

1.6.5. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

1.6.6. ประคับประคองด้านจิตใจ

1.6.7. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองที่บ้าน

2. Phimosis in children

2.1. ภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (foreskin , prepuce) กลับมาทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศได้

2.2. อาการ

2.2.1. มีอาการปัสสาวะลำบากร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

2.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning)ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ

2.2.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบ

2.2.4. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมากหรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง

2.2.5. มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.2.6. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ

2.2.7. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้

2.3. การรักษา

2.3.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง

2.3.1.1. ใช้ครีม steroid ที่มีความเข้มข้นไม่มากเกินไป ทาบริเวณหนังหุ้มปลายให้หนังหุ้มปลายมีความยืดหยุ่นดีขึ้

2.3.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.3.2.1. รักษาหลังจากไม่สามารถรักษาด้วยวิธีการอื่น

2.4. ข้อบ่งชี้ในการขลิบหนังหุ้มปลาย

2.4.1. หนังหุ้มปลายไม่เปิดที่มีลักษณะของพังผืดบริเวณปลายชัดเจน

2.4.2. มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศเป็นๆหายๆ

2.4.3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นๆหายๆ

2.4.4. กลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ

2.5. ข้อห้ามการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.5.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

2.5.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

2.6. ภาวะแทรกซ้อน

2.6.1. การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด

2.6.2. มีการอักเสบติดเชื้อ

2.7. การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด

2.7.1. เตรียมตัวหยุดโรงเรียน 3-7 วัน ขึ้นกับชนิดของเทคนิคที่ทำ

2.7.2. ไม่ต้องงดน้ำและอาหาร ถ้าทำโดยการฉีดยาชา

2.7.3. งดยาต้านการอักเสบ [NSAID]

2.7.4. เลือกกางเกงในสีเข้ม

2.7.5. เตรียมกางเกงชั้นในหลวมๆสำหรับใส่หลังผ่าตัด

2.7.6. ปกติแผลจะหายประมาณ 1-3 อาทิตย์

2.8. การดูแลหลังผ่าตัด

2.8.1. ทำแผลทุกวัน วันละ 1-2 ครั้ง

2.8.2. 24ชั่วโมงแรกถ้ามีเลือดออกให้ใช้ผ้าก๊อสพันแผลและกดตำแหน่งที่มีเลือดออกไว้

2.8.3. ในวันแรกหลังผ่าตัดอาจใช้แผ่นประคบเย็น

2.8.4. อาบน้ำหรือใช้ฝักบัวสามารถทำได้ในวันที่ 2 หรือ 3 หลังการผ่าตัด

2.8.5. ระวังเวลาปัสสาวะ อย่าให้ถูกผ้าก๊อสพันแผล

2.8.6. ทานยาแก้ปวดทานได้ทุก 4 ชั่วโมง

2.8.7. ไม่ต้องตัดไหม เพราะมักใช้ไหมละลาย

3. Nephrotic syndrom

3.1. สาเหตุ

3.1.1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต

3.1.1.1. Idiopathic NS

3.1.1.2. Congenital NS

3.1.1.3. Acute post infection glomerulonephritis

3.1.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น

3.1.2.1. โรคติดเชื้อ

3.1.2.2. สารพิษ

3.1.2.3. ภูมิแพ้

3.1.2.4. โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด

3.1.2.5. เนื้องอกชนิดร้าย

3.2. อาการ

3.2.1. น้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

3.2.2. บวมรอบหนังตาและหน้า เวลาตื่นนอน

3.2.3. ปัสสาวะน้อยสีเข้ม

3.2.4. มีอาการบวมเป็นๆหายๆ

3.2.5. บวมกดบุ๋ม

3.3. การวินิจฉัยโรค

3.3.1. จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

3.3.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.3.2.1. การตรวจปัสสาวะ

3.3.2.2. การตรวจเลือด

3.3.2.3. การตรวจอื่น ๆ เช่น การตรวจชิ้นเนื้อของไต

3.4. การรักษา

3.4.1. ให้ยาประเภทสเตียรอยด์ เช่น Prednisolone ทางปากเพื่อลด Permeability ที่ Glomerular basement membrane

3.4.2. ป้องกันและควบคุมสภาวะโภชนาการ

3.4.3. ลดอาการบวมหรือควบคุม

3.4.4. เพิ่มโปแตสเซียม เพิ่มวิตามิน

3.4.5. ป้องกันการติดเชื้อ

3.5. การพยาบาล

3.5.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

3.5.2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

3.5.3. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

3.5.4. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia

3.5.5. ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทำงานของหัวใจ

3.5.6. เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต

3.5.7. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน

3.5.8. ประคับประคองด้านจิตใจ

4. Urinary tract infection

4.1. สาเหตุ

4.1.1. เกิดการอักเสบของระบบปัสสาวะ

4.1.2. มีปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะ

4.1.3. การอุดกั้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของกระเพาะปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะไหลไม่สะดวก

4.2. อาการ

4.2.1. อายุต่ำกว่า 2 ปี

4.2.1.1. มีไข้ ตัวเหลือง

4.2.1.2. อาเจียน เบื่ออาหาร

4.2.1.3. ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต

4.2.2. อายุ 2-14 ปี

4.2.2.1. อาการไข้ ปัสสาวะบ่อย

4.2.2.2. ปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่น

4.2.2.3. ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง

4.2.2.4. อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

4.3. การวินิจฉัยโรค

4.3.1. ซักประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

4.3.2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ

4.3.2.1. การตรวจปัสสาวะ

4.3.2.2. การตรวจทางรังสีวิทยา

4.4. ภาวะแทรกซ้อน

4.4.1. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย

4.4.2. ความดันโลหิตสูง

4.4.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

4.5. การรักษา

4.5.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ

4.5.2. ป้องกันเนื้อไตถูกทำลาย และป้องกันไตวาย

4.5.3. ค้นหาและแก้ไขความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ

4.5.4. ให้นํ้าปริมาณมาก ให้นํ้าโดยการดื่ม

4.5.5. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ

4.5.6. ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ

4.5.7. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

4.6. การพยาบาล

4.6.1. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

4.6.2. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโต

4.6.3. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

4.6.4. สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา